'ก้อนสำลีในขวดยา' ใช้อย่างไรให้ปลอดภัยและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม รักษ์โลก gogreen ข่าววันนี้ NationOnline
ซึ่งจะใส่ในขวดยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแบบใช้หลายครั้ง โดยมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ยาเม็ด หรือแคปซูลเกิดความเสียหาย หรือแตกหักในระหว่างการขนส่ง
สำลีที่นำมาใช้บรรจุขวดยาทั้ง 3 ชนิดจะมีคุณภาพสูงแตกต่างไปจากสำลีที่ใช้ทางเครื่องสำอาง และควรได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของเภสัชตำรับ เช่น เภสัชตำรับอเมริกา USP AUXILIARY PACKAGING COMPONENTS ซึ่งจะมีหัวข้อทดสอบด้านต่างๆ เช่น การพิสูจน์เอกลักษณ์ ความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณกากที่เหลือจากการเผา ความชื้นที่หายไปเมื่ออบแห้ง ซึ่งสำลีที่ทำมาจากวัสดุแต่ละชนิด ก็จะมีหัวข้อทดสอบและข้อกำหนดที่แตกต่างกัน
เนื่องจากสำลีที่ใช้ จะสัมผัสกับยาเม็ดหรือแคปซูลโดยตรง จึงควรเลือกใช้สำลีที่สะอาด ได้มาตรฐานเภสัชตำรับ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อนจากสารเคมีตกค้าง จุลชีพ และอื่นๆ ที่อาจทำให้ตัวยาเสื่อมสลาย หรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค หากคำนึงในแง่ของความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันยังไม่มีข้อกฎหมายบังคับให้ระบุวิธีกำจัดสำลีที่เหมาะสมบนฉลากหรือเอกสารกำกับยา เพื่อให้ผู้บริโภคทราบว่าควรทิ้งลงถังขยะประเภทใด จึงอาจทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ โดยเฉพาะสำลีที่ทำมาจากพลาสติกที่ไม่สามารถย่อยสลายได้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
นักวิทย์ไทยพบ 'เวสิเคิลนาโน' ใน 'กระชายขาว' ฆ่าเซลล์มะเร็งสมอง-ลำไส้วารสารวิชาการระดับนานาชาติ PLOS ONE เผยข้อมูลนักวิทย์ ม.มหิดล วิจัยพบ 'เวสิเคิลนาโน' จาก 'กระชายขาว' มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งสมอง และมะเร็งลำไส้ ไม่กระทบเซลล์ปกติ ต่อยอดศึกษาพืชและผลไม้ไทย
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดวาร์ป 'พราวไหม' หรือ 'ลิซ่า' สาวลูกครึ่ง โปรไฟล์ดี น้องสาว 'แต้ว' ใน 'แค้น'เปิดวาร์ป 'พราวไหม' หรือ 'ลิซ่า' สาวลูกครึ่ง โปรไฟล์ดี น้องสาว 'แต้ว' ใน 'แค้น' พราวไหม ลิซ่าอลิซา แค้น แต้วณฐพร คมชัดลึก
อ่านเพิ่มเติม »
วิศวะมหิดล เจ๋ง! คิดค้น ระบบสื่อสารฉุกเฉินช่วยผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวทีมนักศึกษาจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล คิดค้น “ระบบดิซาสเตอร์ลิ้งค์ (DisasterLink)” สื่อสารฉุกเฉินช่วยผู้ประสบภัยแผ่นดินไหว พร้อมเป็นตัวแทนประเทศไทยบนเวทีนานาชาติ โชว์นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์กู้โลก กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
ฤดูร้อน!! เลือกซื้อ-รับประทานอาหารอย่างไรให้ปลอดภัยนักกำหนดอาหารวิชาชีพ ม.มหิดล เตือนในฤดูร้อนให้ระวังการเลือกรับประทานอาหาร ต้องปรุงสุก ใหม่ เลี่ยงอาหารดิบ อุ่นร้อนก่อนรับประทาน ลดเสี่ยงปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรค ย้ำเลือกซื้อสินค้าปศุสัตว์จากผู้ผลิตที่มีมาตรฐานเชื่อถือได้ แนะไข่ไก่ต้องจัดเก็บในตู้เย็นกันเน่าเสีย วันที่ 21 มี.ค.66 ดร.วนะพร ทองโฉม นักกำหนดอาหารวิชาชีพ งานสร้างเสริมสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า ในฤดูร้อนที่อากาศร้อนจัดมักทำให้เกิดโรคในอาหาร ยิ่งในประเทศไทยฤดูร้อนมีอุณหภูมิสูงถึง 40 องศาเซลเซียสขึ้นไป เหมาะแก่การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคทำให้อาหารบูดเน่าเสียได้ง่าย ฉะนั้นในฤดูร้อนต้องร
อ่านเพิ่มเติม »
วิธีเลือกซื้อและรับประทานอาหารอย่างปลอดภัย ใน 'ฤดูร้อน'นักกำหนดอาหารวิชาชีพ ม.มหิดล เตือนในฤดูร้อนให้ระวังการเลือกรับประทานอาหาร ต้องปรุงสุก ใหม่ เลี่ยงอาหารดิบ อุ่นร้อนก่อนรับประทาน ลดเสี่ยงปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรค ย้ำเลือกซื้อสินค้าปศุสัตว์จากผู้ผลิตที่มีมาตรฐานเชื่อถือได้
อ่านเพิ่มเติม »
แนะวิธีเลือกซื้อและรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยใน‘ฤดูร้อน’‘นักกำหนดอาหารวิชาชีพ ม.มหิดล’ เตือนในฤดูร้อนให้ระวังการเลือกรับประทานอาหาร ต้องปรุงสุก ใหม่ เลี่ยงอาหารดิบ อุ่นร้อนก่อนรับประทาน ลดเสี่ยงปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรค ย้ำเลือกซื้อสินค้าปศุสัตว์จากผู้ผลิตที่มีมาตรฐานเชื่อถือได้ แนะไข่ไก่ต้องจัดเก็บในตู้เย็นกันเน่าเสีย
อ่านเพิ่มเติม »