ปัญหาคอร์รัปชันของไทย ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ และไม่ลดลงเลย ในขณะที่อันดับการแก้ปัญหาคอร์รัปชันของหลายประเทศดีขึ้น หมายเหตุประเทศไทย คอลัมน์หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ไทยรัฐออนไลน์
อีกบทความนะครับ การทุจริตคอร์รัปชันในยุค 3 ลุง แม้จะมี รัฐธรรมนูญฉบับปราบคอร์รัปชัน แต่ การทุจริตคอร์รัปชันในช่วง 5 ปี ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 12 ระหว่างปี 2560-2564 มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกฯ ปัจจุบันเป็นแคนดิเดตนายกฯ พรรครวมไทยสร้างชาติ กลับไม่ลดลงเลย เป็นอุปสรรคในการพัฒนา ประเทศ เพิ่มความเหลื่อมล้ำทำให้คนจนเพิ่มขึ้น
อันดับการคอร์รัปชันที่แย่ลง ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจเข้ามาลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่อันดับการแก้ปัญหาคอร์รัปชันของหลายประเทศดีขึ้น ก็ยิ่งซ้ำเติมให้แรงดึงดูดการลงทุนของไทยลดลงไปอีก ทำให้การลงทุนเพื่อดึงดูดการลงทุนจะยิ่งแพงขึ้น การที่ระดับการคอร์รัปชันของไทยอยู่ในเกณฑ์สูงมายาวนานไม่เปลี่ยนแปลง ย่อมแสดงให้เห็นว่า รูปแบบการลงทุนของนักลงทุนไทย เป็นสายสัมพันธ์ที่แนบแน่นของกลุ่มธุรกิจบางกลุ่มกับภาครัฐ ยังคงเหมือนเดิมไม่ว่าจะเปลี่ยนรัฐบาลไปกี่ครั้ง...
อันดับทุจริตคอร์รัปชันของประเทศไทยก็ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากอันดับที่ 96 ลงไปอยู่ อันดับที่ 110 จากทั้งหมด 180 ประเทศ อันดับในภูมิภาคอาเซียนก็หล่นไปอยู่อันดับที่ 5 จากอันดับที่ 4 เนื่องจากสถานการณ์ทุจริตคอร์รัปชันของไทยยังไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“คอร์รัปชันไทย” เริ่มจากทำอะไรก่อนดี?ประเด็น 'ขีดความสามารถภาครัฐไทย' โดยธานี ชัยวัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบุว่า เวลาพูดถึงการยกระดับความสามารถในการแข่งขัน เรามักนึกถึงการเพิ่มเงินลงทุนหรือลดภาษี ขณะที่เวลาพูดถึงการแก้ปัญหาคอร์รัปชัน เราก็มักจะถูกทำให้นึกถึงการทำให้คนเป็นคนดี มีคุณธรรม
อ่านเพิ่มเติม »
ไทยลด “ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ” ได้อย่างไร? เมื่อการกระจายประโยชน์ยังขาดความเป็นธรรมความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของไทยเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความเป็นธรรมในการกระจายประโยชน์ในสองด้าน ด้านแรก การกระจายโอกาสให้กับประชาชนที่เกิดมาอย่างทัดเทียมกัน และด้านที่สอง การแบ่งผลตอบแทนทางเศรษฐกิจให้แก่ประชาชนแต่ละคนอย่างได้สัดได้ส่วนกับการลงทุนลงแรง
อ่านเพิ่มเติม »
เจาะลึก 16 ประเด็นเชิงนโยบาย สิ่งที่เป็น ปัญหาที่เห็น ประเด็นชวนคิด “เศรษฐกิจไทย”สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้เผยแพร่บทความ aBRIDGEd ฉบับพิเศษช่วงเดือนเมษายน 2566 ที่พูดถึงประเด็นปัญหาในด้านต่าง ๆ จากผู้นำความคิดด้านเศรษฐศาสตร์ในสังคมไทย
อ่านเพิ่มเติม »
ผ่ามุมมองนักวิชาการ เมื่อ “ภาคธุรกิจไทย” เผชิญทศวรรษที่สูญหายสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้เผยแพร่บทความ aBRIDGEd ฉบับพิเศษช่วงเดือนเมษายน 2566 พูดถึงประเด็นเชิงนโยบายที่สำคัญต่าง ๆ 16 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของคนไทยจากมุมมองนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน ผ่านการสรุป 3 ส่วน ตั้งแต่ 'สิ่งที่เป็น' ในปัจจุบัน เพื่อสะท้อน 'ปัญหาที่เห็น'
อ่านเพิ่มเติม »
“ภาคเกษตรไทย” นโยบายต้องไปให้ถึงปัญหาโครงสร้าง ทำไมที่ผ่านมายังแก้ไม่ได้จริง?ประเด็น 'ภาคเกษตรไทย' โดย โสมรัศมิ์ จันทรัตน์ สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ นิพนธ์ พัวพงศกร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สะท้อนสิ่งที่เป็นในภาคเกษตรของไทยว่า รัฐบาลทุกสมัยให้ความสำคัญกับนโยบายเกษตร เพราะเกษตรกรยังเป็นฐานเสียงกลุ่มใหญ่ของประเทศ แต่ไม่ว่ากี่ปีผ่านไป
อ่านเพิ่มเติม »
เลือกตั้ง 2566: กกต.หอบของที่ระลึกมูลค่า 2 แสน ไปดูงานตปท.เรื่อง 6 กรรมการการเลือกตั้ง เดินทางไปดูงานต่างประเทศ ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ยังต้องตามกันต่อ แม้ว่า ทางกกต.จะมีคำอธิบายออกมาว่าเป็นการเดินทางไปตามคำเชิญ และ ไม่กระ...
อ่านเพิ่มเติม »