ไทยลด “ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ” ได้อย่างไร? เมื่อการกระจายประโยชน์ยังขาดความเป็นธรรม

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ไทยลด “ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ” ได้อย่างไร? เมื่อการกระจายประโยชน์ยังขาดความเป็นธรรม
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 moneynbanking
  • ⏱ Reading Time:
  • 34 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 17%
  • Publisher: 51%

ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของไทยเชื่อมโยงอย่างมีนัยสำคัญกับความเป็นธรรมในการกระจายประโยชน์ในสองด้าน ด้านแรก การกระจายโอกาสให้กับประชาชนที่เกิดมาอย่างทัดเทียมกัน และด้านที่สอง การแบ่งผลตอบแทนทางเศรษฐกิจให้แก่ประชาชนแต่ละคนอย่างได้สัดได้ส่วนกับการลงทุนลงแรง

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้เผยแพร่บทความ aBRIDGEd ฉบับพิเศษช่วงเดือนเมษายน 2566 พูดถึงประเด็นเชิงนโยบายที่สำคัญต่าง ๆ 16 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของคนไทยจากมุมมองนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน ผ่านการสรุป 3 ส่วน ตั้งแต่ “สิ่งที่เป็น” ในปัจจุบัน เพื่อสะท้อน “ปัญหาที่เห็น” ที่ต้องการการแก้ไข และนำเสนอ “ประเด็นชวนคิด”

ในด้านความเป็นธรรมของการกระจายผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ การศึกษาส่วนแบ่งรายได้ประชาชาติระหว่างทุนกับแรงงานในช่วงระหว่างปี 2533–2562 พบว่าส่วนแบ่งที่แรงงานได้รับนั้นมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ส่วนแบ่งที่ทุนได้รับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จาก 33% ใน พ.ศ.

ในด้านการกระจายโอกาส นโยบายที่เกี่ยวข้องชัดเจนคือนโยบายสวัสดิการ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สุขภาพ และการคุ้มครองทางสังคม เนื้อหาของบทความอื่น ๆ ในบทความ aBRIDGEd ฉบับพิเศษนี้ ได้กล่าวถึงปัญหาที่เกี่ยวข้องกับนโยบายเหล่านี้อยู่แล้ว ในที่นี้จึงจะกล่าวถึงเพียงด้านเดียว คือ ความก้าวหน้า ในการกระจายประโยชน์ของนโยบาย ซึ่งในกรณีประเทศไทยยังควรปรับเพิ่มจากการมุ่งปรับปรุงคุณภาพของนโยบายสวัสดิการที่กลุ่มคนรายได้น้อยได้รับ...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

moneynbanking /  🏆 44. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

นิพนธ์กางผลงาน ปลุก‘คนบ้านเรา’ไม่เลือก‘ปชป.-ชวน’ได้อย่างไรนิพนธ์กางผลงาน ปลุก‘คนบ้านเรา’ไม่เลือก‘ปชป.-ชวน’ได้อย่างไรคลิกอ่านที่นี่ นิพนธ์ บุญญามณี พรรคประชาธิปัตย์ ปชป. สงขลา เลือกตั้ง เลือกตั้ง66 ชวน นิพนธ์กางผลงาน ปลุก‘คนบ้านเรา’ไม่เลือก‘ปชป.-ชวน’ได้อย่างไร
อ่านเพิ่มเติม »

เจาะลึก 16 ประเด็นเชิงนโยบาย สิ่งที่เป็น ปัญหาที่เห็น ประเด็นชวนคิด “เศรษฐกิจไทย”เจาะลึก 16 ประเด็นเชิงนโยบาย สิ่งที่เป็น ปัญหาที่เห็น ประเด็นชวนคิด “เศรษฐกิจไทย”สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้เผยแพร่บทความ aBRIDGEd ฉบับพิเศษช่วงเดือนเมษายน 2566 ที่พูดถึงประเด็นปัญหาในด้านต่าง ๆ จากผู้นำความคิดด้านเศรษฐศาสตร์ในสังคมไทย
อ่านเพิ่มเติม »

ผ่ามุมมองนักวิชาการ เมื่อ “ภาคธุรกิจไทย” เผชิญทศวรรษที่สูญหายผ่ามุมมองนักวิชาการ เมื่อ “ภาคธุรกิจไทย” เผชิญทศวรรษที่สูญหายสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้เผยแพร่บทความ aBRIDGEd ฉบับพิเศษช่วงเดือนเมษายน 2566 พูดถึงประเด็นเชิงนโยบายที่สำคัญต่าง ๆ 16 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของคนไทยจากมุมมองนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน ผ่านการสรุป 3 ส่วน ตั้งแต่ 'สิ่งที่เป็น' ในปัจจุบัน เพื่อสะท้อน 'ปัญหาที่เห็น'
อ่านเพิ่มเติม »

“ภาคเกษตรไทย” นโยบายต้องไปให้ถึงปัญหาโครงสร้าง ทำไมที่ผ่านมายังแก้ไม่ได้จริง?“ภาคเกษตรไทย” นโยบายต้องไปให้ถึงปัญหาโครงสร้าง ทำไมที่ผ่านมายังแก้ไม่ได้จริง?ประเด็น 'ภาคเกษตรไทย' โดย โสมรัศมิ์ จันทรัตน์ สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ นิพนธ์ พัวพงศกร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สะท้อนสิ่งที่เป็นในภาคเกษตรของไทยว่า รัฐบาลทุกสมัยให้ความสำคัญกับนโยบายเกษตร เพราะเกษตรกรยังเป็นฐานเสียงกลุ่มใหญ่ของประเทศ แต่ไม่ว่ากี่ปีผ่านไป
อ่านเพิ่มเติม »

กรมอุตุประกาศฉบับ 6 พายุฤดูร้อน ฝนถล่ม ลูกเห็บตก'อีสาน-ตะวันออก' เผยจว.โดนผลกระทบกรมอุตุประกาศฉบับ 6 พายุฤดูร้อน ฝนถล่ม ลูกเห็บตก'อีสาน-ตะวันออก' เผยจว.โดนผลกระทบกรมอุตุประกาศฉบับ 6 พายุฤดูร้อน ฝนถล่ม ลูกเห็บตก'อีสาน-ตะวันออก' เผยจว.โดนผลกระทบ อ่านรายละเอียด : กรมอุตุฯ อากาศแปรปรวน ฝนตก อากาศหนาว อุณหภูมิลด พยากรณ์อากาศ อากาศร้อน พายุฤดูร้อน
อ่านเพิ่มเติม »

นักวิชาการ กระเทาะปัญหา เศรษฐกิจประเทศไม่โต เพราะอุปสรรคจากรัฐนักวิชาการ กระเทาะปัญหา เศรษฐกิจประเทศไม่โต เพราะอุปสรรคจากรัฐสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ตีแผ่ปัญหาประเทศ ขัดขวางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ชี้เป้า ขั้นตอนขออนุญาตหน่วยงานรัฐ ซับซ้อน ยุ่งยาก ล่าช้า เพิ่มต้นทุนแฝงประชาชน เปรียบ 'เศษตะกอนทางกฎหมาย' เศรษฐกิจไทย
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-27 08:19:23