สถาพร ศรีสัจจัง “…การต่อไปภายหน้า…การศึกสงครามข้างญวนข้างพม่าก็เห็นจะไม่มีแล้ว จะมีก็แต่ข้างพวกฝรั่ง ให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียทีแก่เขาได้ การงานสิ่งใดของเขาที่ดีควรจะเรียนร่ำเอาไว้ก็เอาอย่างเขา แต่อย่าให้นับถือเลื่อมใสไปทีเดียว…” พระราชดำรัสสำคัญยิ่งของรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว...
“…การต่อไปภายหน้า…การศึกสงครามข้างญวนข้างพม่าก็เห็นจะไม่มีแล้ว จะมีก็แต่ข้างพวกฝรั่ง ให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียทีแก่เขาได้ การงานสิ่งใดของเขาที่ดีควรจะเรียนร่ำเอาไว้ก็เอาอย่างเขา แต่อย่าให้นับถือเลื่อมใสไปทีเดียว…”
เหมือนจะทรงรู้ถึง “ความจำเป็น” เพื่อเตรียมการในตั้งรับ “การรุกเข้ามา” ของ “ชาติตะวันตก” ล้นเกล้าฯรัชกาลที่ 4 แต่ครั้งเมื่อยังทรงเป็น “พระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ” ก็ทรงตื่นตัวในการเรียนเพื่อที่จะ “รู้เขา” คือระบุว่า กษัตริย์พระองค์นี้ ทรงจัดให้มีห้องเรียนภาษาอังกฤษขึ้น ในช่วงฤดูร้อน พ.ศ. 2388 ณ ห้องแห่งหนึ่งริมวัดบวรนิเวศ โดยมีผู้สอนคือ ศาสนาจารย์ชาวอเมริกันชื่อ “เจสสี แคสเวลล์” และมีผู้เรียนนอกจาก “ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ” แล้วก็ยังมี “คนหนุ่ม” อีก 10 คน และ “พระภิกษุ” อีก 2-3 รูปเข้าร่วมห้องเรียนด้วย
เรื่องนี้มีรายละเอียดว่า เริ่มขึ้นเมื่อพ.ศ.2415 มีนายหรานซิส จอร์ช แพทเทอร์สัน ครูชาวอังกฤษเป็นผู้สอน และมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ ที่ทรงทันเรียนภาษาอังกฤษกับ “แหม่มแอนนา” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทำหน้าที่เป็นล่าม จนสามารถแก้ปัญหาการรุกรานประเทศ “สยาม” เพื่อเอาเป็น “เมืองขึ้น” ของบรรดาประเทศจักรวรรดินิยมตะวันตกสำคัญๆในยุคนั้น อย่างอังกฤษและฝรั่งเศส
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (19) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(13)สถาพร ศรีสัจจัง หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีบอกเราว่า หลังจากสปีชีส์ “เซเปียนส์” เข้ายึดครองและตั้งมั่นกระจัดกระจายอยู่แถบแอฟริกาเหนือและยุโรป(โดยเฉพาะแถบรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลอีเจียน)แล้ว พวกเขาก็มีพัฒนาการเข้าสู่สังคมแบบเกษตรกรรมอย่างชัดเจน พร้อมกับค่อยๆเกิดสิ่งที่เรียกว่า “นครรัฐ” ยุคแรกๆขึ้น...
อ่านเพิ่มเติม »
โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (20) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(14)สถาพร ศรีสัจจัง กล่าวโดยสรุป “เส้นทาง” พัฒนาการของสปีชีส์ “เซเปียนส์” (Sapiens) สู่ความเป็น “มนุษย์” (Human being) อันหมายถึง “สิ่งมีชีวิต” ที่แตกต่างจากสปีชีส์อื่นๆอย่างสิ้นเชิงด้วยความสามารถของ “สมอง” ที่พัฒนาสั่งสม จนสามารถ “สร้างสรรค์” สิ่งที่เรียกว่า “วัฒนธรรม” (Culture)ขึ้นได้ โดยเฉพาะวัฒนธรรมด้านจิตใจ ที่เรียกกันในยุคปัจจุบันว่า “จริยธรรม”...
อ่านเพิ่มเติม »
โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (21) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม” (15)สถาพร ศรีสัจจัง มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไม่น้อยที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ชนชั้นปกครอง(โดยเฉพาะพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจสูงสุด)ใน “ระบบศักดินาไทย” นั้นมีความ “ตื่นตัว” ต่อความเปลี่ยนแปลงของโลกยุคมีการ “ปฏิวัติอุตสาหกรรม” ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7-18 ที่เกิดขึ้นพร้อมๆกับการ “ล่าอาณานิคม” ครั้งใหญ่ของชาติ “มหาอำนาจตะวันตก” (โดยเฉพาะอังกฤษ...
อ่านเพิ่มเติม »
โลก-ทัศน์-พัฒน์-พิษ (22) : จากพึ่งพิงธรรมชาติ-เกษตรกรรม สู่ “อุตสาหกรรม”(16)สถาพร ศรีสัจจัง อาจกล่าวได้ว่า “การปฏิวัติอุตสาหกรรม” (Industrial Revolution)ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นั้น เกิดในช่วงที่เป็น “ข้อต่อ” ระหว่างยุค “ราชาธิปไตย” (Abslute Monarchy)กับยุค “ทุน” (Capital Era) ซึ่งก็คือช่วงเปลี่ยนผ่านของระบบเศรษฐกิจโลกแบบ “ศักดินานิยม” (Fuedalism) สู่ระบบ “ทุนนิยม” (Capitalism) นั่นเอง...
อ่านเพิ่มเติม »
'TCMA' รุกกำจัดวัสดุไม่ใช้แล้วอย่างยั่งยืน มุ่งใช้เชื้อเพลิงทดแทน 68% ปี 73'TCMA' รุกกำจัดวัสดุไม่ใช้แล้วอย่างยั่งยืน มุ่งใช้เชื้อเพลิงทดแทน 68% ปี 73 เดินหน้าผนึกรัฐ อุตสาหกรรม ชุมชนด้วยการเผาร่วมในเตาเผาปูนซีเมนต์ เผยปี 63 นำวัสดุไม่ใช้แล้วมาเป็นเชื้อเพลิง10% และเพิ่มเป็น 23% ในปี 65
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดสาเหตุไทยพัฒนา Smart City ช้า หลังรั้งที่ 84 โลกเปิดเหตุไทยพัฒนา Smart City ช้า ปัจจุบัน รั้ง 84 โลก Metthier ชี้ประเด็น เชิงโครงสร้างพื้นฐาน และเทคโนโลยี ที่มักจะมีเทคโนโลยีแต่ไม่มีฐานข้อมูล พร้อชง METTRIQ แพลตฟอร์มจัดการอาคารอัจฉริยะ จาก Smart Buildings สู่ Smart Sustainable City
อ่านเพิ่มเติม »