อนุทินเผยสัปดาห์หน้าร่างพ.ร.บ.กัญชาทันเข้าสภา แจงยิบมี 103 มาตรา : อินโฟเควสท์

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

อนุทินเผยสัปดาห์หน้าร่างพ.ร.บ.กัญชาทันเข้าสภา แจงยิบมี 103 มาตรา : อินโฟเควสท์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 InfoQuestNews
  • ⏱ Reading Time:
  • 62 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 28%
  • Publisher: 68%

อนุทิน เผยสัปดาห์หน้าร่างพ.ร.บ.กัญชา ทันเข้าสภา แจงยิบมี 103 มาตรา พรบกัญชา อินโฟเควสท์

นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรมว.

สำหรับร่างพระราชบัญญัติ กัญชา กัญชง พ.ศ. …. ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรเสียงข้างมากได้ให้ความเห็นชอบรับหลักการในวาระที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2565 ก่อนตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่าง พระราชบัญญัติ กัญชา กัญชง พ.ศ…..ซึ่งมีการประชุมต่อเนื่องจนถึงเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ที่ผ่านมา มีสาระสำคัญ ดังนี้ 3. ได้กำหนดให้มีการแบ่งพืชกัญชา กัญชง ออกจากกันเพื่อให้มีระดับการบริหารจัดการที่แตกต่างกัน โดยจะให้พิจารณาจากปริมาณสารที่ทำให้มีนเมา คือ สาร THC ในช่อดอกเป็นตัวแบ่งกัญชา และกัญชง แต่ไม่ว่ากัญชาหรือกัญชงก็ยังคงจะต้องมีการควบคุมต่อไป

6. สำหรับการปลูกกัญชา และกัญชง การผลิต การสกัด การแปรรูป และขาย “เพื่อธุรกิจ” จะต้องขออนุญาตทุกกรณี และหากภาครัฐได้รับเอกสารครบถ้วนทางคณะกรรมการอาหารและยาจะต้องอนุญาตให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน 9. ห้ามขายกัญชา กัญชง สารสกัดให้กับเยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร ซึ่งถือเป็นกลุ่มเปราะบางและมีบทลงโทษจำคุก 1 ปีและปรับไม่เกิน 1 แสนบาท ส่วนบทลงโทษในมาตราอื่นๆหากกระทำกับกลุ่มเปราะบางดังกล่าวด้วย จะมีบทลงโทษเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า11. ห้ามสูบกัญชาในสถานที่ต้องห้าม ซึ่งรวมถึง วัด, สถานที่สาธารณะ, สถานที่ราชการ, สถานศึกษา, สถานพยาบาล, หอพัก, สวนสาธารณะ, ร้านอาหาร รวมถึงสถานที่ซึ่งรัฐมนตรีอาจประกาศกำหนดเพิ่มเติมในพื้นที่ห้ามสูบเพิ่มเติมได้โดยคำแนะนำของคณะกรรมการฯ13.

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

InfoQuestNews /  🏆 7. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

'อนุทิน' เผย ร่าง พ.ร.บ.กัญชา เข้าสภา สัปดาห์หน้า ครัวเรือนปลูกได้ 15 ต้น'อนุทิน' เผย ร่าง พ.ร.บ.กัญชา เข้าสภา สัปดาห์หน้า ครัวเรือนปลูกได้ 15 ต้น“อนุทิน” เผย สัปดาห์หน้า ร่าง พ.ร.บ.กัญชา ทันเข้าสภา แจง มี 103 มาตรา ครัวเรือนปลูกได้ 15 ต้น-ห้ามเด็กเข้าถึง จำหน่ายจ่ายแจก แก่เยาวชน มีความผิด โทษหนัก ควบคุมวิธีขาย และโฆษณา
อ่านเพิ่มเติม »

“อนุทิน” เผย สัปดาห์หน้า ร่าง พ.ร.บ. กัญชา ทันเข้าสภา แจงยิบ มี 103 มาตรา ครัวเรือนปลูกได้ 15 ต้น ห้ามเด็กเข้าถึง จำหน่ายจ่ายแจก แก่เยาวชน มีความผิด โทษหนัก“อนุทิน” เผย สัปดาห์หน้า ร่าง พ.ร.บ. กัญชา ทันเข้าสภา แจงยิบ มี 103 มาตรา ครัวเรือนปลูกได้ 15 ต้น ห้ามเด็กเข้าถึง จำหน่ายจ่ายแจก แก่เยาวชน มีความผิด โทษหนัก“อนุทิน” เผย สัปดาห์หน้า ร่าง พ.ร.บ. กัญชา ทันเข้าสภา แจงยิบ มี 103 มาตรา ครัวเรือนปลูกได้ 15 ต้น ห้ามเด็กเข้าถึง จำหน่ายจ่ายแจก แก่เยาวชน มีความผิด โทษหนัก ควบคุมวิธีการขาย และโฆษณา มั่นใจผ่านฉลุย เพราะทุกฝ่ายช่วยพิจารณาวันนี้ (2
อ่านเพิ่มเติม »

‘ทางเอก – ทางโท’ รู้ชัด แยกเป็นได้ไม่ยาก ไขข้องใจอภิสิทธิ์ของทางเอก‘ทางเอก – ทางโท’ รู้ชัด แยกเป็นได้ไม่ยาก ไขข้องใจอภิสิทธิ์ของทางเอกทางเอก และทางโท คือส่วนหนึ่งของ “ทางร่วมแยก” ที่ต้องมีไว้ในกรณีที่ถนนตัดซอย หรือถนนทางเข้าออก - อาคาร ตามพ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 แต่ในบางครั้ง ผู้ขั..
อ่านเพิ่มเติม »

วิษณุ ชี้ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินคุมโควิด-19 ขึ้นกับ สธ.-ศบค.ประเมินสถานการณ์ : อินโฟเควสท์วิษณุ ชี้ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินคุมโควิด-19 ขึ้นกับ สธ.-ศบค.ประเมินสถานการณ์ : อินโฟเควสท์นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า กรณี นพ.อุดม คชินทร ที่ปรึกษาศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 (ศบค.) ระบุว่าเตรียมเสนอ ศบค.ให้พิจารณาไม่ขยายการบังคับใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่จะสิ้นสุด 30 ก.ย.นั้นก็อาจจะเป็นได้ แต่การประชุมวันนี้ไม่ได้มีการเสนอเข้ามา เพราะหากไม่ต่ออายุการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน อำนาจตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินก็สิ้นสุดลง ส่วน ศบค.จะอยู่หรือไปก็ได้ แต่โดยหลักก็ควรจะยุบ แต่อาจให้อยู่ตามอำนาจกฏหมายอีกฉบับหนึ่ง คือ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แต่ลดบทบาทและอำนาจหน้าที่ของ ศบค.ลง และส่งมอบให้กระทรวงสาธาณสุขจัดการ โดยไม่ต้องไปยุ่งกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) อีก ทั้งนี้ สถานการณ์โควิดขณะนี้มีความเป็นไปได้ที่จะไม่ต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน หรือไม่นั้น คงไม่สามารถตอบได้ ต้องถามจากกระทรวงสาธารณสุข และ ศบค.ซึ่งเป็นผู้ประเมินสถานการณ์ หากไม่ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ก็จะใช้ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ฉบับเดิม ซึ่งอำนาจส่งกลับคืนไปให้กระทรวงสาธารณสุข ส่วน พ.ร.ก.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ที่ ครม.เคยเห็นชอบแล้ว ยังไม่ได้ประกาศใช้ เพราะต้องรอให้พิจารณาครอบคลุมกับโรคอุบัติใหม่ทุกชนิดก็เลยรั้งรอไว้ …
อ่านเพิ่มเติม »

'หมออุดม' เผยนายกฯเห็นด้วยเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน-ยุบศบค.ปรับโควิดเป็นโรคเฝ้าระวัง : อินโฟเควสท์'หมออุดม' เผยนายกฯเห็นด้วยเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉิน-ยุบศบค.ปรับโควิดเป็นโรคเฝ้าระวัง : อินโฟเควสท์นพ.อุดม คชินทร ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.ชุดใหญ่) กล่าวก่อนการประชุมว่า ในการประชุม ศบค.ชุดใหญ่วันนี้จะพิจารณาประกาศให้โควิด-19 เป็นโรคเฝ้าระวังตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.นี้ พร้อมทั้งยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักร และกลับมาใช้ พ.ร.บ.โรคติดต่อ รวมถึงยุบหน่วยงาน ศบค. ซึ่งพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เห็นด้วยในหลักการเบื้องต้นแล้ว “1 ต.ค. นี้ โควิด-19 จะเป็นโรคเฝ้าระวัง และยังไม่ใช่โรคประจำถิ่น ซึ่งการจะเป็นโรคประจำถิ่นต้องใช้เวลาอีกซักระยะ ขณะเดียวกันหน้ากากอนามัยยังมีความจำเป็น” นพ.อุดม ระบุ นอกจากนั้น วาระการประชุม ศบค.ยังมีเรื่องที่น่าสนใจ ได้แก่ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จะเสนอการขยายระยะเวลาการพำนักของผู้เดินทางเข้าราชอาณาจักรไทยเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและเยียวยาผลกระทบจากสถานการณ์ของโรคโควิด-19, ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข เสนอแผนการให้บริการวัคซีนโควิด-19 เดือน ก.ย.65, ศูนย์ปฏิบัติการด้านการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินด้านความมั่นคง จะรายงานเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ขณะที่กระทรวงสาธารณสุข จะรายงานสถานการณ์และแนวโน้มการแพร่ระบาด ความคืบหน้าในการจัดทำนโยบาย แนวทางปฏิบัติเปลี่ยนผ่านสู่ภาวะหลังพ้นการระบาดใหญ่ (Post-Pandemic) เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคโควิด-19, กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จะรายงานความก้าวหน้าการวิจัยและพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย …
อ่านเพิ่มเติม »

ไฟเขียว ยกเลิก 'พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน' ปรับใช้พ.รบ.โรคติดต่อคุมโควิด-19ไฟเขียว ยกเลิก 'พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน' ปรับใช้พ.รบ.โรคติดต่อคุมโควิด-19ศบค.ชุดใหญ่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เห็นด้วยในหลักการ ยกเลิก ประกาศ 'พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน' ตั้งแต่ 1 ต.ค.65 เปลี่ยนไปใช้พ.ร.บ.โรคติดต่อฉบับใหม่
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-03 17:34:54