“อนุทิน” เผย สัปดาห์หน้า ร่าง พ.ร.บ.กัญชา ทันเข้าสภา แจง มี 103 มาตรา ครัวเรือนปลูกได้ 15 ต้น-เข้ม ห้ามเด็กเข้าถึง มั่นใจ ผ่านฉลุย กัญชา กัญชง ข่าวการเมือง ไทยรัฐออนไลน์
มั่นใจ ผ่านฉลุย วันที่ 20 ส.ค. ณ หอประชุมอาคารคชสาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย อ.เมือง จ.
1961 โดยให้ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และทางวิทยาศาสตร์ และยังคงให้ใช้ประโยชน์ในฐานะเป็น “พืชกรรมสวน” เพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือนได้ โดยปรากฏหลักฐานการใช้ส่วนต่างๆ ของกัญชาในการประกอบอาหารในประวัติศาสตร์ตำราอาหารของประเทศไทยที่ใช้อย่างเหมาะสมและมีความปลอดภัย สำหรับวัตถุประสงค์ในเชิงอุตสาหกรรมและการพาณิชย์ โดยในด้านอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับใยไฟเบอร์ของพืชกัญชง รวมถึงการพาณิชย์เพื่อสุขภาพและทางการแพทย์ และยังคงมีการให้มีไว้เพื่อการพาณิชย์ในรูปของอาหารและเครื่องดื่ม...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
เปิดร่างพ.ร.บ.กัญชาเพิ่มโควตาบ้านละ15ต้นห้ามโฆษณาขายผ่านตู้ออนไลน์ | เดลินิวส์ละเอียดยิบ! เปิดร่าง พ.ร.บ.กัญชา เพิ่มโควตาปลูกบ้านละ 15 ต้น ห้ามโฆษณา ขายผ่านตู้ออนไลน์ มึนเมาไม่ขับ ฝ่าฝืนจำคุก 1 ปี ปรับ 1 แสนบาท ลักลอบนำเข้าโทษหนักทำลายชาติ เดลินิวส์ กัญชา ฝ่าฝืน ลักลอบ ปลูกกัญชา
อ่านเพิ่มเติม »
กมธ.กัญชาฯ เผยเคาะปลูกกัญชาใช้เองบ้านละ 15 ต้น ปลูกขายต้องขออนุญาตทุกกรณี : อินโฟเควสท์นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โฆษกคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชง พ.ศ. … กล่าวถึงรายละเอียดร่าง พ.ร.บ.กัญชา กัญชงฯ ว่า มีการประยุกต์กฎหมายมาจากทั้ง พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ, พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และร่าง พ.ร.บ.พืชกระท่อม ซึ่งมีสาระสำคัญ คือ มาตรา 4 ที่กำหนดให้แยกกฎหมายเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงออกจากกัน โดยให้วัดจากปริมาณสารที่ทำให้มึนเมา คือ สารทีเอชซี (THC) ตามคณะกรรมการกัญชากัญชงกำหนด เช่น ทีเอชซี ไม่เกิน 1% ของช่อดอกเรียก กัญชง หากเกิน 1% เรียก กัญชา ซึ่งจะมีระดับการควบคุมไม่เหมือนกัน แต่จะมีการกำหนดปริมาณเท่าไร กติกาอย่างไร จะมีคณะกรรมการกัญชากัญชงเป็นผู้ดูแล ส่วนการปลูกในครัวเรือนตามมาตรา 18 วรรค 1 ระบุว่า ผู้ใดประสงค์เพาะปลูกกัญชา กัญชง ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน กมธ.ได้เปลี่ยนความเห็นตามประชาชนว่า 10 ต้นไม่พอ จึงกำหนดไว้ที่ 15 …
อ่านเพิ่มเติม »
วิษณุ ชี้ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินคุมโควิด-19 ขึ้นกับ สธ.-ศบค.ประเมินสถานการณ์ : อินโฟเควสท์นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า กรณี นพ.อุดม คชินทร ที่ปรึกษาศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 (ศบค.) ระบุว่าเตรียมเสนอ ศบค.ให้พิจารณาไม่ขยายการบังคับใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่จะสิ้นสุด 30 ก.ย.นั้นก็อาจจะเป็นได้ แต่การประชุมวันนี้ไม่ได้มีการเสนอเข้ามา เพราะหากไม่ต่ออายุการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน อำนาจตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินก็สิ้นสุดลง ส่วน ศบค.จะอยู่หรือไปก็ได้ แต่โดยหลักก็ควรจะยุบ แต่อาจให้อยู่ตามอำนาจกฏหมายอีกฉบับหนึ่ง คือ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แต่ลดบทบาทและอำนาจหน้าที่ของ ศบค.ลง และส่งมอบให้กระทรวงสาธาณสุขจัดการ โดยไม่ต้องไปยุ่งกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) อีก ทั้งนี้ สถานการณ์โควิดขณะนี้มีความเป็นไปได้ที่จะไม่ต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน หรือไม่นั้น คงไม่สามารถตอบได้ ต้องถามจากกระทรวงสาธารณสุข และ ศบค.ซึ่งเป็นผู้ประเมินสถานการณ์ หากไม่ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ก็จะใช้ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ฉบับเดิม ซึ่งอำนาจส่งกลับคืนไปให้กระทรวงสาธารณสุข ส่วน พ.ร.ก.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ที่ ครม.เคยเห็นชอบแล้ว ยังไม่ได้ประกาศใช้ เพราะต้องรอให้พิจารณาครอบคลุมกับโรคอุบัติใหม่ทุกชนิดก็เลยรั้งรอไว้ …
อ่านเพิ่มเติม »
อนุทินเผย สถานการณ์โควิดดีขึ้น เตรียมเสนอประกาศเป็นโรคเฝ้าระวัง จ่อยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เผย สถานการณ์โควิดดีขึ้น เตรียมเสนอประกาศเป็นโรคเฝ้าระวัง จ่อยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน หรือยุบ ศบค. แต่ต้องให้ ‘นายกฯ’ ชี้ขาด โควิด19วันนี้ โควิดวันนี้ โควิด19 COVID19 TheStandardNews
อ่านเพิ่มเติม »
พริษฐ์เปิด 5 ข้อที่ต้องพิสูจน์ตัวเองของกองทัพบก ต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ และเท่าทันโลก – THE STANDARDพริษฐ์ เสนอให้ปรับลดงบประมาณและเลื่อนโครงการในหลายส่วนของกองทัพบกออกไปก่อน จนกว่ากองทัพจะสามารถพิสูจน์ให้ประชาชนเห็นได้ถึงความจริงจังและจริงใจในการปฏิรูปตัวเองผ่าน 5 ข้อพิสูจน์ TheStandardNews
อ่านเพิ่มเติม »
เตรียมยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยุบ ศบค.1 ต.ค.นี้ เล็งใช้พ.ร.บ.โรคติดต่อฯคุมแทนอ่านรายละเอียด : โควิด โรคติดต่อฯคุมแทน พรกฉุกเฉินฯ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 'หมออุดม' เผย จ่อเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ 1 ต.ค.นี้ เล็งใช้พ.ร.บ.โรคติดต่อฯคุมแทน ส่วนศบค.หายไปตามกม. พร้อมเตรียมแผนเรื่องยา-วัคซีน ก่อนเข้าสู่โรคประจำถิ่น ย้ำปชช.ไม่ติดดีที่สุด
อ่านเพิ่มเติม »