สายดูดาวเช็คเลย! ลุ้นชมดาวหางนิชิมูระ เดือนกันยายนนี้

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

สายดูดาวเช็คเลย! ลุ้นชมดาวหางนิชิมูระ เดือนกันยายนนี้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 13 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 9%
  • Publisher: 63%

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ NARIT เปิดไทม์ไลน์ลุ้นชม'ดาวหางนิชิมูระ' ในเดือนกันยายนนี้ เช็คเลยช่วงเวลาไหน วันใดเห็นชัดสุด

ถูกค้นพบเมื่อไม่กี่สัปดาห์ก่อนหน้านี้ กำลังจะโคจรเฉียดโลกในวันที่ 12 กันยายน 2566 และจะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดในวันที่ 17 กันยายน ซึ่งจะเป็นช่วงที่มีความสว่างมากที่สุด และยังมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์มากเพียงพอ อาจสามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าในช่วงหัวค่ำของวันดังกล่าว” ค้นพบครั้งแรกโดย “ฮิเดโอะ นิชิมูระ ” นักดาราศาสตร์สมัครเล่นชาวญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม ค.ศ.

2023 ดาวหางจะมีตำแหน่งปรากฏอยู่บริเวณกลุ่มดาวสิงโต บริเวณใกล้กับดาวเรกูลัส ซึ่งอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นมุมประมาณ 20 องศา ทำให้มีระยะเวลาสังเกตการณ์ประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนที่ดวงอาทิตย์จะขึ้น และจากข้อมูลล่าสุดชี้ว่า ขณะนี้ดาวหางมีค่าความสว่างปรากฏ 5.

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Thansettakij /  🏆 23. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

มาลุ้นกัน จะได้เห็นดาวหางนิชิมูระดวงใหม่ ในวันที่ 17 ก.ย. ไหมมาลุ้นกัน จะได้เห็นดาวหางนิชิมูระดวงใหม่ ในวันที่ 17 ก.ย. ไหมมีเรื่องให้ลุ้นกันอีกแล้วค่ะลูกเพจ เมื่อช่วงสิ้นเดือนสิงหาคม ก็มีลุ้นที่จะดูซูเปอร์ฟูลมูน หรือพระจันทร์ใกล้โลกที่สุด สำหรับเดือนนี้ มีลุ้นชม ดาวหางนิชิมูระ ค่ะ&
อ่านเพิ่มเติม »

ลุ้มชม 'ดาวหางนิชิมูระ' ดาวหางดวงใหม่ เดือนกันยายน มองเห็นได้วันไหนบ้างลุ้มชม 'ดาวหางนิชิมูระ' ดาวหางดวงใหม่ เดือนกันยายน มองเห็นได้วันไหนบ้างNARIT ชวนลุ้นชม 'ดาวหางนิชิมูระ' ดาวหางดวงใหม่ เตรียมอวดโฉมให้ชมในเดือนกันยายนนี้ สังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่ามากสุดวันไหน เช็กที่นี่
อ่านเพิ่มเติม »

บอกลา ! Samsung จะไม่อัปเดทซอฟต์แวร์ให้ Galaxy Note10 Series แล้วบอกลา ! Samsung จะไม่อัปเดทซอฟต์แวร์ให้ Galaxy Note10 Series แล้วในเดือนกันยายนนี้ Samsung ได้ทยอยปล่อยอัปเดทแพทช์รักษาค […]
อ่านเพิ่มเติม »

มาแล้ว 'ซูเปอร์บลูมูน' 2 ปรากฏการณ์ จันทร์เต็มดวงครั้งที่สองของเดือน และอยู่ใกล้โลกที่สุดในรอบปีมาแล้ว 'ซูเปอร์บลูมูน' 2 ปรากฏการณ์ จันทร์เต็มดวงครั้งที่สองของเดือน และอยู่ใกล้โลกที่สุดในรอบปีเพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ข้อความว่า เตรียมพร้อมถ่ายภาพ ดวงจันทร์เต็มดวงใหญ่ที่สุดในรอบปี
อ่านเพิ่มเติม »

คืนนี้! ชวนชม “ซูเปอร์บลูมูน” พร้อมอัพเดทภารกิจ “จันทรยาน-3”คืนนี้! ชวนชม “ซูเปอร์บลูมูน” พร้อมอัพเดทภารกิจ “จันทรยาน-3”เมื่อวันที่ 29 ส.ค.66 เพจ NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์เฟซบุ๊กระบุข้อความว่า ต้อนรับ ซูเปอร์บลูมูน คืนวันพรุ่งนี้ (30 ส.ค.) ด้วยภาพถ่ายส่งตรงจาก ดวงจันทร์ เป็นภาพของพื้นผิวบริเวณขั้วใต้จาก “รถสำรวจปรัชญาน” รถสำรวจน้องใหม่ล่าสุดบนดวงจันทร์ที่เริ่มทำงานแล้ว พร้อมอัพเดทภารกิจ “จันทรยาน-3” ภารกิจสำรวจดวงจันทร์ของอินเดียครั้งนี้กันสักเล็กน้อย !
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-07 06:35:35