เพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ข้อความว่า เตรียมพร้อมถ่ายภาพ #ดวงจันทร์เต็มดวงใหญ่ที่สุดในรอบปี
ก่อนจะไปพบกับ Super Blue Moon ในคืนนี้ มาแนะเทคนิคเก็บภาพดวงจันทร์สุดประทับใจ เตรียมตัวก่อนลงสนามจริงกัน
การที่ดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากขึ้น ขนาดปรากฏใหญ่ขึ้น จึงมองเห็นสว่างยิ่งขึ้น เหมาะแก่การถ่ายภาพดวงจันทร์ โดยเฉพาะภาพเปรียบเทียบขนาดกับวัตถุบริเวณขอบฟ้า ผู้สนใจเก็บภาพความประทับใจสามารถเตรียมตัวถ่ายภาพด้วยหลักการเบื้องต้น ดังนี้ 3 ) การปรับโฟกัสภาพ แนะนำใช้ระบบ Live View บนจอหลังกล้อง เลือกโฟกัสบริเวณหลุมอุกกาบาตบนผิวดวงจันทร์ จะช่วยให้สามารถโฟกัสได้คมชัดและง่ายมากที่สุด
ปกติแล้วดวงจันทร์มีคาบการโคจรรอบโลกประมาณ 29.5 วัน ในขณะที่หนึ่งเดือนในปฏิทินที่เราใช้กันมี 30-31 วัน ส่งผลให้เมื่อวันเวลาผ่านไป บางเดือนมีวันที่ดวงจันทร์เต็มดวงถึง 2 ครั้งในช่วงต้นเดือนและปลายเดือน ซึ่งนานทีจะเกิดขึ้น และอาจทำให้ใครหลายคนนึกถึงสำนวนภาษาอังกฤษอย่าง Once in a blue moon ที่หมายถึงอะไรที่เกิดขึ้นได้ยาก หรือนาน ๆ จะเกิดขึ้นที
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ชวนดูปรากฏการณ์ 'ซูเปอร์บลูมูน' 30 ส.ค.นี้สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ชวนดู ปรากฏการณ์ 'ซูเปอร์บลูมูน' หรือ ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี เวลาประมาณ 18.09 น. เป็นต้นไป จนถึงรุ่งเช้า ของวันที่ 31 สิงหาคม 2566
อ่านเพิ่มเติม »
‘ซูเปอร์บลูมูน’ ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลก ครั้งที่ 2 ของเดือน ครั้งนี้ไม่ทันรออีก 14 ปีปรากฏการณ์ ‘ซูเปอร์บลูมูน’ (Super Blue moon) ที่กำลังจะเกิดขึ้น คือปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี และเป็นครั้งที่ 2 ของเดือน ซึ่งดวงจันทร์จะมีขนาดใหญ่กว่าปกติ เราสามารถชมซูเปอร์บลูมูนได้วันที่ 30 สิงหาคม ถึงรุ่งเช้า 31 สิงหาคม 2566
อ่านเพิ่มเติม »
'ซูเปอร์บลูมูน' คืออะไร ต่างจาก 'ซูเปอร์ฟูลมูน' อย่างไร เกิดล่าสุดเมื่อไหร่เปิดข้อมูล 'ซูเปอร์บลูมูน' คืออะไร มีความต่างจาก 'ซูเปอร์ฟูลมูน' อย่างไร ทำไมถึงเรียกไม่เหมือนกัน เกิดขึ้นครั้งล่าสุดเมื่อไหร่
อ่านเพิ่มเติม »
30 ส.ค.66 เกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปีไม่ควรพลาด! คืนพรุ่งนี้ปรากฏการณ์สุดท้ายของเดือน “ซูเปอร์บลูมูน” ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี มีหวานใจไปดูด้วยหรือยัง? ในดือนสิงหาคมนี้ มีปรากฏการ
อ่านเพิ่มเติม »
พลาดคืนนี้ รออีก 14 ปี ! 'ซูเปอร์บลูมูน' 2 ปรากฏการณ์ 'ดวงจันทร์' เกิดในคราวเดียวกันหากพลาดคืนนี้ (30 ส.ค. 66) ต้องรออีก 14 ปีเลยทีเดียว สำหรับการชมปรากฏการณ์ “ซูเปอร์บลูมูน” (Super Blue Moon) โดยจะเริ่มตั้งแต่เวลาประมาณ 18.09 น. เป็นต้นไป ถึงช่วงเช้าวันที่ 31 ส.ค. 66
อ่านเพิ่มเติม »
เตรียมยลโฉม 'ซูเปอร์บลูมูน' ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกสุดในรอบปี คืนนี้ (30 ส.ค.)เตรียมชมปรากฏการณ์ 'ซูเปอร์บลูมูน' ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี ดูได้ด้วยตาเปล่าตั้งแต่เย็นวันที่ 30 ส.ค. จนถึงรุ่งเช้าวันที่ 31 ส.ค.
อ่านเพิ่มเติม »