เปิดข้อมูล 'ซูเปอร์บลูมูน' คืออะไร มีความต่างจาก 'ซูเปอร์ฟูลมูน' อย่างไร ทำไมถึงเรียกไม่เหมือนกัน เกิดขึ้นครั้งล่าสุดเมื่อไหร่
มีคาบการโคจรรอบโลกประมาณ 29.
5 วัน ในขณะที่หนึ่งเดือนในปฏิทินที่เราใช้กันมี 30-31 วัน ส่งผลให้เมื่อวันเวลาผ่านไป บางเดือนมีวันที่ดวงจันทร์เต็มดวงถึง 2 ครั้งในช่วงต้นเดือนและปลายเดือน ซึ่งนานทีจะเกิดขึ้น และอาจทำให้ใครหลายคนนึกถึงสำนวนภาษาอังกฤษอย่าง Once in a blue moon ที่หมายถึงอะไรที่เกิดขึ้นได้ยาก หรือนานๆ จะเกิดขึ้นที คือวันที่ 31 ต.ค.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
30 ส.ค.66 เกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปีไม่ควรพลาด! คืนพรุ่งนี้ปรากฏการณ์สุดท้ายของเดือน “ซูเปอร์บลูมูน” ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี มีหวานใจไปดูด้วยหรือยัง? ในดือนสิงหาคมนี้ มีปรากฏการ
อ่านเพิ่มเติม »
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ชวนดูปรากฏการณ์ 'ซูเปอร์บลูมูน' 30 ส.ค.นี้สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ชวนดู ปรากฏการณ์ 'ซูเปอร์บลูมูน' หรือ ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี เวลาประมาณ 18.09 น. เป็นต้นไป จนถึงรุ่งเช้า ของวันที่ 31 สิงหาคม 2566
อ่านเพิ่มเติม »
'ซูเปอร์บลูมูน' ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกสุดในรอบปี คืนวันที่ 30 ส.ค.66ชวนชมปรากฏการณ์ส่งท้ายเดือน ส.ค.66 'ซูเปอร์บลูมูน' ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี เริ่มสังเกตได้ตั้งแต่เย็นวันที่ 30 ส.ค. จนถึงรุ่งเช้าวันที่ 31 ส.ค. ดูได้ด้วยตาเปล่าทางทิศตะวันออก
อ่านเพิ่มเติม »
คืนนี้! ชวนชม “ซูเปอร์บลูมูน” พร้อมอัพเดทภารกิจ “จันทรยาน-3”เมื่อวันที่ 29 ส.ค.66 เพจ NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์เฟซบุ๊กระบุข้อความว่า ต้อนรับ ซูเปอร์บลูมูน คืนวันพรุ่งนี้ (30 ส.ค.) ด้วยภาพถ่ายส่งตรงจาก ดวงจันทร์ เป็นภาพของพื้นผิวบริเวณขั้วใต้จาก “รถสำรวจปรัชญาน” รถสำรวจน้องใหม่ล่าสุดบนดวงจันทร์ที่เริ่มทำงานแล้ว พร้อมอัพเดทภารกิจ “จันทรยาน-3” ภารกิจสำรวจดวงจันทร์ของอินเดียครั้งนี้กันสักเล็กน้อย !
อ่านเพิ่มเติม »
คืนพรุ่งนี้ ! เตรียมพบปรากฏการณ์ “ซูเปอร์บลูมูน” ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปีนวันพรุ่งนี้ (30 ส.ค. 66) ตั้งแต่เวลาประมาณ 18.09 น. เป็นต้นไป ถึงช่วงเช้าวันที่ 31 ส.ค. 66 จะเกิดปรากฏการณ์ “ซูเปอร์บลูมูน” (Super Blue Moon) โดยเป็นปรากฏการณ์ “ซูเปอร์ฟูลมูน” และในคืนดังกล่าวยังเกิด “บลูมูน” (Blue Moon) ด้วย
อ่านเพิ่มเติม »