สกสว. ผนึกกำลัง GISTDA ผลักดันแผนวิจัยโลกและอวกาศสู่การใช้งานจริง ฐานเศรษฐกิจ
ดร.
ปีที่แล้วคณะทำงานได้เสนอแผนฯ ดังกล่าวให้กับผู้เชี่ยวชาญ กลุ่ม Stakeholder กลุ่ม Partner ทั้งในและต่างประเทศ ร่วมกันพิจารณาให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแผนงานวิจัยฯ ซึ่งเราได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากทุกภาคส่วนในการให้คำแนะนำต่างๆ ทำให้การทำงานมีความง่ายขึ้น จนมาถึงวันนี้ ที่เราได้มีโอกาสนำแผนที่นำทางฯ ฉบับร่างมาร่วมกันพิจารณาอีกครั้ง
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
GISTDA เผยพื้นที่น้ำท่วมขัง 4 จังหวัดภาคอีสานกว่า 5 หมื่นไร่GISTDA เผยพื้นที่น้ำท่วมขัง 4 จังหวัดภาคอีสานกว่า 5 หมื่นไร่ GISTDA เผยพื้นที่น้ำท่วมขัง 4 จังหวัดภาคอีสานกว่า 5 หมื่นไร่
อ่านเพิ่มเติม »
แม็คโคร x โลตัส เดินหน้าธุรกิจหัวใจสีเขียว ขับเคลื่อนนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม'แม็คโคร x โลตัส' ผนึกกำลัง เดินหน้าธุรกิจค้าส่งค้าปลีกหัวใจสีเขียว เร่งขับเคลื่อนนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ ผ่านสาขาทั่วประเทศสู่เป้าหมายคาร์บอนสมดุล ปี 2030 SPRiNG SpringNews Keeptheworld สิ่งแวดล้อม
อ่านเพิ่มเติม »
GISTDA เผยพื้นที่น้ำท่วมขัง 4 จังหวัดภาคอีสานกว่า 5 หมื่นไร่GISTDA เผยพื้นที่น้ำท่วมขัง 4 จังหวัดภาคอีสานกว่า 5 หมื่นไร่ GISTDA เผยพื้นที่น้ำท่วมขัง 4 จังหวัดภาคอีสานกว่า 5 หมื่นไร่
อ่านเพิ่มเติม »
ผงะ! ภาพถ่ายดาวเทียมเผย น้ำท่วม 4 ลุ่มน้ำสำคัญแล้วกว่า 7.4 แสนไร่GISTDA เผยภาพถ่ายดาวเทียม พบหลายพื้นที่ใน 4 ลุ่มน้ำสำคัญได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมขังแล้วกว่า 7.4 แสนไร่ ขณะพื้นที่ปลูกข้าวโดยรวมได้รับผลกระทบแล้ว 2.6 แสนไร่
อ่านเพิ่มเติม »
GISTDA ชี้โอกาสเกิดน้ำท่วมซ้ำรอยมหาอุทกภัยปี 54 น้อย เทียบพื้นที่น้ำท่วมต่างกัน 3 เท่าตัว : อินโฟเควสท์สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA เปิดข้อมูลภาพจากแผนที่แสดงสถานการณ์น้ำท่วมเปรียบเทียบช่วงเดือน ส.ค.54 และเดือน ส.ค.ปีนี้ พบว่า ต่างกันราว 3 เท่าตัว ในช่วงเดือน ส.ค.54 ซึ่งขณะนั้นประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมขัง 5.59 ล้านไร่ และเมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์น้ำท่วมในเดือน ส.ค.ปีนี้พบว่าประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมขังแล้ว 1.85 ล้านไร่ ทั้งนี้ หากมองย้อนกลับไปปี 54 ซึ่งเป็นปีที่เกิดเหตุการณ์มหาอุทกภัยอย่างรุนแรง สาเหตุหลักมาจาก 1.เกิดพายุหลายลูกเคลื่อนตัวผ่านและส่งผลให้ประเทศไทยได้รับอิทธิพลโดยตรง ซึ่งยังไม่นับรวมร่องมรสุมอื่นๆ ที่พาดผ่านประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง รวมถึงลมประจำถิ่นที่ส่งผลให้เกิดฝนตกอย่างหนักในหลายพื้นที่ 2.ฝนที่มาเร็วกว่าปกติ ทำให้ปริมาณฝนตกสะสมทั้งประเทศสูงกว่าค่าเฉลี่ยมากถึง 35% 3.ช่วงครึ่งปีแรกเกิดปรากฏการณ์ลานีญาที่ค่อนข้างรุนแรง ทำให้มีปริมาณฝนมากกว่าปกติทุกเดือน 4.เกิดน้ำทะเลหนุนบ่อยครั้ง ส่งผลให้การระบายน้ำค่อนข้างยาก และเป็นไปอย่างล่าช้า 5.เขื่อนใหญ่ๆ อย่างเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ำไหลลงอ่างอย่างต่อเนื่องในปริมาณสูงมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ทำผลให้ไม่สามารถระบายน้ำออกได้ทัน เนื่องจากบริเวณพื้นที่ท้ายเขื่อนก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน 6.มีสิ่งกีดขวางทางน้ำมากมายทั้งจากธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ขณะที่สถานการณ์น้ำในขณะนี้ 1.เดือน ส.ค. ประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมขังแล้วกว่า 1.85 ล้านไร่ ถือว่ายังน้อยกว่าอยู่ 3 เท่าเมื่อเทียบกับปี 2554 2.เกิดปรากฏการณ์ลานีญาเช่นกัน …
อ่านเพิ่มเติม »
GISTDA เปิดภาพจากดาวเทียม Sentinel-1 (เซนติเนล-1)ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่บางส่วนของลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล และลุ่มน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือGISTDA เปิดภาพจากดาวเทียม Sentinel-1 (เซนติเนล-1) ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่บางส่วนของลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล และลุ่มน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 พบพื้นที่น้ำท่วม ทั้งสิ้น 369,438 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวได้รับผลกระทบ 213,472 ไร่ ในพื้นที่บางส่วนของจังหวัด ร้อยเอ็ด สุรินทร์ ยโสธร ศรีสะเกษ นครพนม อุบลราชธานี สกลนคร อำนาจเจริญ กาฬสินธุ์ บึงกาฬ และ บุรีรัมย์ โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่ลุ่มต่ำริมสองฝั่งแม่น้ำสายหลักและสายรองของพื้นที่โดยรอบ ซึ่งรวมถึงชุมชนที่อยู่อาศัยและเส้นทางคมนาคมบางส่วน .
อ่านเพิ่มเติม »