GISTDA ชี้โอกาสเกิดน้ำท่วมซ้ำรอยมหาอุทกภัยปี 54 น้อย เทียบพื้นที่น้ำท่วมต่างกัน 3 เท่าตัว : อินโฟเควสท์

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

GISTDA ชี้โอกาสเกิดน้ำท่วมซ้ำรอยมหาอุทกภัยปี 54 น้อย เทียบพื้นที่น้ำท่วมต่างกัน 3 เท่าตัว : อินโฟเควสท์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 InfoQuestNews
  • ⏱ Reading Time:
  • 48 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 22%
  • Publisher: 68%

GISTDA ชี้โอกาสเกิดน้ำท่วมซ้ำรอยมหาอุทกภัยปี 54 น้อย เทียบพื้นที่น้ำท่วมต่างกัน 3 เท่าตัว GISTDA น้ำท่วม ลานีญา สถานการณ์น้ำ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ อุทกภัย อินโฟเควสท์

5.เขื่อนใหญ่ๆ อย่างเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ำไหลลงอ่างอย่างต่อเนื่องในปริมาณสูงมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ทำผลให้ไม่สามารถระบายน้ำออกได้ทัน เนื่องจากบริเวณพื้นที่ท้ายเขื่อนก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน1.เดือน ส.ค. ประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมขังแล้วกว่า 1.85 ล้านไร่ ถือว่ายังน้อยกว่าอยู่ 3 เท่าเมื่อเทียบกับปี 2554

2.เกิดปรากฏการณ์ลานีญาเช่นกัน ทำให้ฝนมาเร็ว ส่งผลให้หลายพื้นที่ของประเทศมีปริมาณน้ำฝนสะสมสูงขึ้น แต่ไม่รุนแรงเท่าปี 25544.สิ่งกีดขวางทางน้ำ เช่น ผักตบชวา ต้นไม้ กิ่งไม้ ขยะฯ ได้รับการจัดเก็บอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้เป็นสิ่งกีดขวางทางน้ำ6.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดทุกช่วงเวลา

แต่หากเปรียบเทียบข้อมูลกลับไปในช่วงปี 63 และปี 64 ของเดือน ส.ค.จะพบว่าในขณะนั้นประเทศไทยมีปริมาณน้ำท่วมขังน้อยกว่าปี 65 สาเหตุหลักมาจากภัยแล้ง อีกทั้งปีนี้มีฝนมาเร็วซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของปรากฏการณ์ลานีญาที่เกิดขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่าสังเกตว่าปีนี้ประเทศไทยยังไม่เจอกับพายุแบบทางตรง ที่ผ่านมาจะเป็นแค่ทางอ้อมเท่านั้นที่ทำให้ได้รับผลกระทบทั้งในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางของประเทศ ซึ่งขณะนี้หลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเฝ้าติดตามสถานการณ์น้ำอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็น สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กรมชลประทาน กรมอุตุนิยมวิทยา สถาบันสารสรเทศทรัพยากรน้ำ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมถึง GISTDA เป็นต้น...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

InfoQuestNews /  🏆 7. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

GISTDA เทียบน้ำท่วมไทย ส.ค. 54 VS ส.ค. 65 ต่างกัน 3 เท่าตัว!GISTDA เทียบน้ำท่วมไทย ส.ค. 54 VS ส.ค. 65 ต่างกัน 3 เท่าตัว!GISTDA เปิดเผยข้อมูลภาพสถานการณ์น้ำท่วม ส.ค. ปี 54 และ 65 พบปริมาณน้ำท่วมขังต่างกัน 3 เท่าตัว เผย ขณะนี้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวย้อง เฝ้าติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำใกล้ชิด
อ่านเพิ่มเติม »

GISTDA เทียบพื้นที่ 'น้ำท่วมไทย' ช่วง ส.ค.54 กับ ส.ค.65 ต่างกันกี่เท่า?GISTDA เทียบพื้นที่ 'น้ำท่วมไทย' ช่วง ส.ค.54 กับ ส.ค.65 ต่างกันกี่เท่า?เพจเฟซบุ๊ก GISTDA สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) เปิดเผยข้อมูลภาพจากแผนที่แสดงสถานการณ์น้ำท่วมช่วงเดือนสิงหาคม 2554 ซึ่งขณะนั้นประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วม
อ่านเพิ่มเติม »

ภาพดาวเทียมเผย 18 จว.ใน 4 ลุ่มน้ำ ท่วมแล้ว 8.4 แสนไร่ 'สุโขทัย' หนักสุดภาพดาวเทียมเผย 18 จว.ใน 4 ลุ่มน้ำ ท่วมแล้ว 8.4 แสนไร่ 'สุโขทัย' หนักสุดภาพดาวเทียมเผย 18 จว.ใน 4 ลุ่มน้ำ ท่วมแล้ว 8.4 แสนไร่ สุโขทัย หนักสุด
อ่านเพิ่มเติม »

“จิสด้า” เทียบพื้นที่น้ำท่วม ส.ค. 54 กับ ส.ค. 65 พบต่างกัน 3 เท่าตัว“จิสด้า” เทียบพื้นที่น้ำท่วม ส.ค. 54 กับ ส.ค. 65 พบต่างกัน 3 เท่าตัวจิสด้า เปิดเผยข้อมูลภาพจากแผนที่แสดงสถานการณ์น้ำท่วมช่วงเดือนส.ค. 54 ซึ่งขณะนั้นประเทศไทยประสบปัญหาน้ำท่วมขัง 5.59 ล้านไร่ และเมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์น้ำท่ว...
อ่านเพิ่มเติม »

Power of The Act: ผู้รับสัมปทานปิโตรเลียมมีสิทธิดักจับและกักเก็บคาร์บอนหรือไม่? : อินโฟเควสท์Power of The Act: ผู้รับสัมปทานปิโตรเลียมมีสิทธิดักจับและกักเก็บคาร์บอนหรือไม่? : อินโฟเควสท์ประเทศไทยมีเป้าหมายที่จะสร้างความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ในปี ค.ศ. 2050 และทำให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emissions) ในปี ค.ศ. 2065 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ (PIER) อธิบายว่าความเป็นกลางทางคาร์บอน คือ การที่ปริมาณการปล่อยคาร์บอน (CO2) เข้าสู่ชั้นบรรยากาศเท่ากับปริมาณคาร์บอนที่ถูกดูดซับกลับคืนมาผ่านป่าหรือวิธีการอื่น ในขณะที่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ คือ การที่ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมีความสมดุล เท่ากับก๊าซเรือนกระจกที่ถูกดูดซับออกจากชั้นบรรยากาศ จากนิยามข้างต้นจะต้องมีการดำเนินการเพื่อให้คาร์บอนถูกปล่อยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศให้น้อยลงไม่ว่าจะเป็นความเป็นกลางทางคาร์บอน หรือการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ เมื่อเรายังไม่อาจหยุดการผลิตและบริโภคซึ่งก่อให้เกิดการปล่อยคาร์บอนหรือปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้ปราศจากการปล่อยคาร์บอนได้อย่างกระทันหัน แนวทางหนึ่งที่จะสามารถช่วยลดการปล่อยคาร์บอนขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ จึงได้แก่ การดักจับคาร์บอนที่เกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิด (เช่น โรงงาน) และส่งคาร์บอนที่ถูกดักจับไปเก็บในชั้นใต้ดิน การดักจับ ขนส่ง และกักเก็บดังกล่าวย่อมต้องมี “การลงมือดำเนินการ” และย่อมมีคำถาม (ในเชิงกฎหมาย) ตามมาว่ารัฐควรควบคุมกำกับ (Regulate) การดำเนินการดังกล่าวหรือไม่ ? บทความนี้จะวิเคราะห์ประเด็นทางกฎหมายดังกล่าวโดยผ่านโครงการดักจับและกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Capture and Storage หรือ CCS) ของ บมจ.ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP) ที่แหล่งก๊าซธรรมชาติอาทิตย์ …
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-13 14:12:21