สถาพร ศรีสัจจัง มี “วาทกรรม” (discouse)อยู่ 2 วาทกรรม ที่มักจะ “วาบ” ขึ้นในความรู้สึกเสมอๆ เมื่อต้องเผชิญกับภาวะบางภาวะ ที่รู้สึกอึดอัดจากความ “อยากให้เราเป็น” แบบอื่น (ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแบบที่น่าจะไม่ใช่เรา) วาทกรรมแรกที่มัก “วาบ” จี๊ดขึ้นมาก็คือ “มนุษย์จะมีชีวิตอยู่ภายใต้ความเชื่อของผู้อื่นได้อย่างไร!” และ วาทกรรมที่ 2 ที่มักรู้สึกตามถัดมา...
มี “วาทกรรม” อยู่ 2 วาทกรรม ที่มักจะ “วาบ” ขึ้นในความรู้สึกเสมอๆ เมื่อต้องเผชิญกับภาวะบางภาวะ ที่รู้สึกอึดอัดจากความ “อยากให้เราเป็น” แบบอื่น วาทกรรมแรกที่มัก “วาบ” จี๊ดขึ้นมาก็คือ “มนุษย์จะมีชีวิตอยู่ภายใต้ความเชื่อของผู้อื่นได้อย่างไร!” และ วาทกรรมที่ 2 ที่มักรู้สึกตามถัดมา ก็คือ “ปีกที่ไม่อาจมอบแก่กันได้”!
แต่ในแวดวงของผู้มีรสนิยมเชิง “กวี” หรือในหมู่ผู้คนที่มีจิตวิญญาณแห่งการต่อสู้แสวงหวังเพื่อชีวิตที่ดีกว่า เพื่อชีวิตที่สามารถกู้คืนความเป็น “มนุษย์” จากค่านิยมของสังคมทุนนิยมปัจจุบันกลับคืนให้แก่ตนเองนั้น ย่อมแจ่มใจและประจักษ์ในความคงค่าแห่งนามนี้ ในฐานะของคนที่เชื่อว่า “มนุษย์จะมีชีวิตอยู่ภายใต้ความเชื่อของผู้อื่นได้อย่างไร?”!
แน่ละต้องเกี่ยวข้องอย่างแน่นอน เพราะ “โนรามดลิ้น” คือผู้ได้รับพระราชทานามสกุล “ยอดระบำ” จากล้นเกล้าฯรัชกาลที่ 6 เมื่อครั้งได้มีโอกาสรำโนราถวาย ณ เบื้องพระพักตร์ ! ทั้งบุคลิกทางกายภาพ และ จิตวิญญาณ วีระศักดิ์ ยอดระบำ นับว่าเป็น “คนใต้แท้” คนหนึ่ง ที่แน่ๆก็คือได้รับสายเลือดความเป็น “ศิลปิน” จากศิลปินต้นตระกูลอย่าง “โนรามดลิ้น ยอดระบำ” อย่างเป็นที่ประจักษ์ จากงานวรรณศิลป์ทั้งหลายทั้งปวงที่เขาปฏิบัติอย่างเป็นสรณะสำคัญประการหนึ่งของชีวิตมาโดยตลอด!
หลังออกจากป่า นอกจากจะมุ่งใช้ชีวิตแบบ'เกษตรทางเลือกแล้ว เขายังเขียนหนังสือ ทั้งที่เป็น บทกวี เรื่องเล่าร้อยแก้ว ปกิณกคดี ฯลฯ ด้วย เนื้อหาของเรื่องที่เขียน ส่วนใหญ่เป็นการถ่ายข้อมูล ความรู้ และจินตภาพจากประสบการณ์ตรง ในการผนวกชีวิตของตนอยู่ร่วมกับพี่น้องชาติพันธุ์ชนเผ่ามาอย่างยาวนาน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“นิติสงคราม” ของจริง!(1)สถาพร ศรีสัจจัง ดูเหมือน “สำนัก” สำคัญ (ในอดีต?) ที่มักผลิต “วาทกรรม” (Discourse) สำคัญๆทาง “กฎหมาย” จนกลายเป็น “อำนาจนำทางความเชื่อ” คือสามารถทำให้คำเหล่านั้นกลายเป็น “กระแส” จนกลายเป็นคำที่ “คุ้นชิน” หรือ “ติดปาก-ติดความรู้สึก” ของผู้คนวงกว้างในสังคมไทย น่าจะไม่มีสำนักไหนเกิน “สำนักธรรมศาสตร์” (และการเมือง) ที่เคยมี “มอตโต้” (Motto)...
อ่านเพิ่มเติม »
'นิติสงคราม'ของจริง! (2)สถาพร ศรีสัจจัง จากวาทกรรม “ชั้นใดเขียนกฎหมาย/ก็แน่ไซร้เพื่อชั้นนั้น” จนถึงวาทกรรม “นิติสงคราม” นับว่ามีระยะห่างในการ “ผลิตสร้าง” ระหว่างกันอยู่ไม่น้อย และแม้วาทกรรมทั้ง 2 บทจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ “กฎหมาย” แต่ทั้ง “เจตนา” และเป้าหมายเกี่ยวกับ “จุดมุ่งที่ต้องการบรรลุผล” ในการใช้ดูจะค่อนข้างแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย วาทกรรม...
อ่านเพิ่มเติม »
“นิติสงคราม” ของจริง! (3)สถาพร ศรีสัจจัง คำ “นิติสงคราม” ที่ฟังว่าเป็นคำที่คิดประดิษฐ์ขึ้นโดย รศ.ดร.
อ่านเพิ่มเติม »
'นิติสงคราม'ของจริง! (2)สถาพร ศรีสัจจัง จากวาทกรรม “ชั้นใดเขียนกฎหมาย/ก็แน่ไซร้เพื่อชั้นนั้น” จนถึงวาทกรรม “นิติสงคราม” นับว่ามีระยะห่างในการ “ผลิตสร้าง” ระหว่างกันอยู่ไม่น้อย และแม้วาทกรรมทั้ง 2 บทจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ “กฎหมาย” แต่ทั้ง “เจตนา” และเป้าหมายเกี่ยวกับ “จุดมุ่งที่ต้องการบรรลุผล” ในการใช้ดูจะค่อนข้างแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย วาทกรรม...
อ่านเพิ่มเติม »
“นิติสงคราม” ของจริง!(1)สถาพร ศรีสัจจัง ดูเหมือน “สำนัก” สำคัญ (ในอดีต?) ที่มักผลิต “วาทกรรม” (Discourse) สำคัญๆทาง “กฎหมาย” จนกลายเป็น “อำนาจนำทางความเชื่อ” คือสามารถทำให้คำเหล่านั้นกลายเป็น “กระแส” จนกลายเป็นคำที่ “คุ้นชิน” หรือ “ติดปาก-ติดความรู้สึก” ของผู้คนวงกว้างในสังคมไทย น่าจะไม่มีสำนักไหนเกิน “สำนักธรรมศาสตร์” (และการเมือง) ที่เคยมี “มอตโต้” (Motto)...
อ่านเพิ่มเติม »
141 ปี “ศาสดาพยากรณ์” : (2) คาฮ์ลิล ญิบราน(The prophet#1)สถาพร ศรีสัจจัง ปีพุทธศักราช 2567 หนังสือเรื่อง “The Prophet” หนังสือเล่มที่โดดเด่น และถูกกล่าวถึงมากที่สุดของ “ศาสดาพยากรณ์”ผู้เป็นกวีเอกของโลกชาวเลบานอน นาม “คาฮ์ลิล ญิบราน” มีอายุครบ 101 ปี พอดี และฟังมาว่า หนังสือเล่มนี้ก็ยังคงเป็นหนังสือ “ขายดีตลอดกาล” เล่มหนึ่งของโลกอยู่เช่นเดิม...
อ่านเพิ่มเติม »