สถาพร ศรีสัจจัง จากวาทกรรม “ชั้นใดเขียนกฎหมาย/ก็แน่ไซร้เพื่อชั้นนั้น” จนถึงวาทกรรม “นิติสงคราม” นับว่ามีระยะห่างในการ “ผลิตสร้าง” ระหว่างกันอยู่ไม่น้อย และแม้วาทกรรมทั้ง 2 บทจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ “กฎหมาย” แต่ทั้ง “เจตนา” และเป้าหมายเกี่ยวกับ “จุดมุ่งที่ต้องการบรรลุผล” ในการใช้ดูจะค่อนข้างแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย วาทกรรม...
จากวาทกรรม “ชั้นใดเขียนกฎหมาย/ก็แน่ไซร้เพื่อชั้นนั้น” จนถึงวาทกรรม “นิติสงคราม” นับว่ามีระยะห่างในการ “ผลิตสร้าง” ระหว่างกันอยู่ไม่น้อย และแม้วาทกรรมทั้ง 2 บทจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ “กฎหมาย” แต่ทั้ง “เจตนา” และเป้าหมายเกี่ยวกับ “จุดมุ่งที่ต้องการบรรลุผล” ในการใช้ดูจะค่อนข้างแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย
ก่อนที่คำ “นิติสงคราม” จะร้อนแรงขึ้นในสังคมไทย มีการเคลื่อนไหวในกลุ่มที่เรียกกันว่า “นักวิชาการทางกฎหมายรุ่นใหม่” ในช่วงปี พ.ศ.2555 ที่เรียกตัวเองว่า “กลุ่มนิติราษฎร์” คนที่โดดเด่นมากในกลุ่มนี้คือศาสตราจารย์ ดร.วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อดีตนักเรียนทุนอานันทมหิดล อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แต่หลังจากฮือฮาจัดตั้งรัฐบาลกันอยู่ยกใหญ่ “นายกฯพิธา ลิ้มเจริญรัตน์” กับคณะรัฐมนตรีในฝันก็กลายเป็น “นายกฯทิพย์” และ “รัฐมนตรีทิพย์” ไปในทันที เมื่อ “พรรคเพื่อไทย” พรรคที่สมาชิกได้รับเลือกมากเป็นลำดับ 2 ได้สลัดพันธสัญญาเกียรติยศที่ทำไว้กับพรรค “ก้าวไกล” ตั้งแต่วันแรกที่ผลการเลือกตั้ง ทำตัวเป็น “เสือข้ามห้วย” กระโจนข้ามฟากไปร่วมสังฆกรรมกับ “ฝ่ายอักษะ” ที่พรรคเพื่อไทยเองเคยเรียกว่าเป็น “พวกเผด็จการ” และ “พวกนั่งร้านเผด็จการ” อย่างพรรคภูมิใจไทย พรรคพลังประชารัฐ และ พรรค “รวมไทยสร้างชาติ” ของ...
คนที่เป็นคอการเมืองและติดตามการเคลื่อนไหวของดร.ปิยบุตร ย่อมทราบกันดีว่า ท่านทั้งพูดและ “โพสต์” เรื่องนี้อยู่เนืองๆโดยเริ่มมาตั้งแต่การ บัญญัติศัพท์คำ “นิติสงคราม” มาตั้งแต่ปลายปีพ.ศ.2562 โน่นแล้ว…
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“นิติสงคราม” ของจริง!(1)สถาพร ศรีสัจจัง ดูเหมือน “สำนัก” สำคัญ (ในอดีต?) ที่มักผลิต “วาทกรรม” (Discourse) สำคัญๆทาง “กฎหมาย” จนกลายเป็น “อำนาจนำทางความเชื่อ” คือสามารถทำให้คำเหล่านั้นกลายเป็น “กระแส” จนกลายเป็นคำที่ “คุ้นชิน” หรือ “ติดปาก-ติดความรู้สึก” ของผู้คนวงกว้างในสังคมไทย น่าจะไม่มีสำนักไหนเกิน “สำนักธรรมศาสตร์” (และการเมือง) ที่เคยมี “มอตโต้” (Motto)...
อ่านเพิ่มเติม »
“นิติสงคราม” ของจริง!(1)สถาพร ศรีสัจจัง ดูเหมือน “สำนัก” สำคัญ (ในอดีต?) ที่มักผลิต “วาทกรรม” (Discourse) สำคัญๆทาง “กฎหมาย” จนกลายเป็น “อำนาจนำทางความเชื่อ” คือสามารถทำให้คำเหล่านั้นกลายเป็น “กระแส” จนกลายเป็นคำที่ “คุ้นชิน” หรือ “ติดปาก-ติดความรู้สึก” ของผู้คนวงกว้างในสังคมไทย น่าจะไม่มีสำนักไหนเกิน “สำนักธรรมศาสตร์” (และการเมือง) ที่เคยมี “มอตโต้” (Motto)...
อ่านเพิ่มเติม »
141 ปี “ศาสดาพยากรณ์” : (2) คาฮ์ลิล ญิบราน(The prophet#1)สถาพร ศรีสัจจัง ปีพุทธศักราช 2567 หนังสือเรื่อง “The Prophet” หนังสือเล่มที่โดดเด่น และถูกกล่าวถึงมากที่สุดของ “ศาสดาพยากรณ์”ผู้เป็นกวีเอกของโลกชาวเลบานอน นาม “คาฮ์ลิล ญิบราน” มีอายุครบ 101 ปี พอดี และฟังมาว่า หนังสือเล่มนี้ก็ยังคงเป็นหนังสือ “ขายดีตลอดกาล” เล่มหนึ่งของโลกอยู่เช่นเดิม...
อ่านเพิ่มเติม »
“ความเปลี่ยนแปลง” ของ “นายผี” (8)สถาพร ศรีสัจจัง ทำไมจากความเป็น “ทิพรูป” จึงต้องกลายเป็น “เพชรรูป” ไปได้?
อ่านเพิ่มเติม »
'SE' ทุบสถิตินิวไฮ! โกยยอดขายมากกว่า 200 ล้านบาทจากงานมหกรรมบ้านและคอนโด ครั้งที่ 44สถาพร เอสเตท (SE) ประกาศความสำเร็จในการสร้างสถิตินิวไฮ หลังนำทัพบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮมและคอนโดมิเนียม ทั้ง 7 โครงการคุณภาพ ร่วมงาน “มหกรรมบ้านและคอนโด ครั้งที่ 44” สร้างยอดขาย 4 วัน รวมมากกว่า 200 ล้านบาท นายสุนทร สถาพร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สถาพร เอสเตท จำกัด (SE) ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์คุณภาพทั้งโครงการคอนโดมิเนียม บ้าน และทาวน์โฮม...
อ่านเพิ่มเติม »
“ความเปลี่ยนแปลง” ของ “นายผี” (7)สถาพร ศรีสัจจัง เมื่อถูกสั่ง “ปลดกลางอากาศ” ด้วยข้อหาไปปราบพม่า (ด้วยการเผาคลอกทั้งเมือง) ที่เข้ามายึดเมืองปิล๊อก (เมืองเล็กๆชายแดนอยู่ในเขตภูเขาติดกับพม่า) โดยไม่แจ้งขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชาก่อน(ด้วยคงเห็นว่าถ้าทำเช่นนั้นจะไม่ทันการ)แล้ว พระยาพล(ต้นตระกูลของ “นายผี”)...
อ่านเพิ่มเติม »