ใครที่ “ลดน้ำหนัก” ผิดวิธีด้วยการ “อดอาหาร” เป็นเวลานานๆ แล้วกลับมากินอาหารปริมาณมากแบบทันทีทันใด นอกจากจะทำให้ระบบย่อยอาหารแปรปรวน และร่างกายทำงานผิดปกติแล้ว ยังเสี่ยงเสียชีวิตอีกด้วย กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
- ผู้ที่ผ่านการรักษาด้วยวิธีผ่าตัดมาในช่วงแรก
- ผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพบางชนิด เช่น Anorexia, โรคมะเร็ง, โรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง, โรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง, โรคซิสติก ไฟโบรซิส, ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ และผู้ที่มีภาวะลำไส้สั้นสำหรับผู้ที่เสี่ยงหรืออยู่ในภาวะ Refeeding Syndrome เมื่อแพทย์ประเมินอาการแล้วพบว่าว่จำเป็นต้องกลับมากินอาหารตามปกติ จะต้องมีการติดตามอาการ ให้กินอาหารในปริมาณจำกัดแบบ “โภชนบำบัด” และต้องเฝ้าระวังตลอดเวลาเพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยง...
- เริ่มให้โภชนบําบัด ด้วยการเพิ่มอาหารที่มีพลังงานทีละน้อย จากเดิมผู้ป่วยได้รับร้อยละ 20-25 ของความต้องการ พลังงาน แล้วค่อยๆ ปรับเพิ่มขึ้นทีละนิด จนอยู่ในระดับที่เพียงพอกับความต้องการพลังงานทั้งหมด ในปลายสัปดาห์แรก - ติดตามระดับอิเลกโทรไลต์และแร่ธาตุต่างๆ ในเลือด โดยเฉพาะฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และ แคลเซียม เมื่อแรกรับผู้ป่วยไว้รักษา ติดตามอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง โดยเฉพาะช่วงสัปดาห์แรกที่เริ่มให้โภชนบําบัด เมื่อพบอาการผิดปกติให้รักษาและติดตามผลอย่างใกล้ชิด- ให้วิตามินบี 1 ขนาด 25-100 มิลลิกรัมต่อวัน ทางปากหรือทางหลอดเลือดดํา ก่อนเริ่มให้อาหาร จากนั้นให้วิตามินบี 1 ต่อเนื่องอีก 7-10 วัน
โดยสรุปแล้วแม้ว่าภาวะ Refeeding Syndrome จะไม่ได้เกิดขึ้นง่ายๆ กับคนทั่วไป แต่ในคนที่อยู่ระหว่างลดน้ำหนักก็ต้องระมัดระวังให้มากขึ้น เพราะหากกินน้อยเกินไปแทนที่จะได้สุขภาพที่ดีอาจเสียสุขภาพและเสียชีวิตได้ และสำหรับผู้ที่อดอาหารมาเป็นเวลานานรวมถึงมีภาวะทุพโภชนาการและต้องการกลับมากินอาหารตามปกติอีกครั้ง ก็จำเป็นต้องมีการปรับขนาดการกินตามดุลยพินิจของแพทย์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
คณะแพทย์เฝ้าระวัง Refeeding syndrome 'ตะวัน-แบม' อย่างใกล้ชิดคณะแพทย์เฝ้าระวัง Refeeding syndrome ‘ตะวัน-แบม’ อย่างใกล้ชิด ตะวันแบม มติชนการเมือง มติชนออนไลน์ via MatichonOnline
อ่านเพิ่มเติม »
รพ.ธรรมศาสตร์ฯ อัปเดตอาการ “ตะวัน-แบม” การคิดและความจำดีขึ้น ผลเลือดคงที่ ยังเฝ้าระวังใกล้ชิดตะวันแบม ยังอดอาหารแต่จิบน้ำ ได้รับสารน้ำแร่ธาตุ วิตามิน เพื่อประคับประคองภาวะขาดน้ำและสารอาหาร . แพทย์เฝ้าระวังความเสี่ยงภาวะ refeeding syndrome จากการเริ่มรับสารอาหาร หลังจากอดอาหารเป็นเวลานาน . คลิกอ่านข่าว : . ข่าวออนไลน์7HD Ch7HDNews ข่าวช่อง7HD
อ่านเพิ่มเติม »
ตะวัน-แบม ปวดหลอดเลือดดำส่วนปลายที่แขนซ้าย ยังเฝ้าระวัง Refeeding Syndrome ใกล้ชิดตะวัน-แบม ปวดหลอดเลือดดำส่วนปลายที่แขนซ้าย ยังเฝ้าระวัง Refeeding Syndrome ใกล้ชิด via MatichonOnline
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จัก 'Karoshi Syndrome' โรคฮิตชาวญี่ปุ่น ทำงานหนักจนตาย อาการเป็นอย่างไรเปิดเรื่องน่ากลัวของคนทำงานหนัก ที่อาจเสี่ยงภาวะ “Karoshi Syndrome“ โหมงานหนักจนตัวตาย หนึ่งในโรคยอดฮิตของชาวญี่ปุ่นและมนุษย์ทำงาน SPRiNG SpringNews Karoshisyndrome ทำงานหนัก
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จักคาโรชิ ซินโดรม 'ทำงานหนักจนตาย' โรคฮิตชาวญี่ปุ่น และมนุษย์ทำงานทั่วโลกวัยทำงานที่กลับบ้านดึก ๆ ดื่น ๆ นอนไม่พอ โดนกดดันจากบริษัท ไม่มีเวลาพักผ่อน เสี่ยงภาวะ Karoshi Syndrome ภาวะที่มนุษย์ทำงานญี่ปุ่นประสบมาอย่างยาวนานหลายปี
อ่านเพิ่มเติม »
ตะวัน-แบม ปวดหลอดเลือดดำส่วนปลายที่แขนซ้าย ยังเฝ้าระวัง Refeeding Syndrome ใกล้ชิดตะวัน-แบม ปวดหลอดเลือดดำส่วนปลายที่แขนซ้าย ยังเฝ้าระวัง Refeeding Syndrome ใกล้ชิด via MatichonOnline
อ่านเพิ่มเติม »