1.การลงทุนของภาคเอกชนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนตั้งแต่ปี 2558 มีมูลค่าการลงทุนรวม 3.
7 หมื่นล้านบาท ประกอบด้วยการส่งเสริมการลงทุนโครงการลงทุนของภาคเอกชนในพื้นที่พัฒนาที่ราชพัสดุเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด กาญจนบุรี และนครพนม การลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสระแก้วและสงขลา การจัดตั้งธุรกิจใหม่และการจัดตั้งเขตปลอดอากรและคลังสินค้าทัณฑ์บนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก มุกดาหาร หนองคาย เชียงรายและสงขลา2.
การบริหารจัดการพื้นที่พัฒนาที่ราชพัสดุเพื่อนำร่องการลงทุน ขณะนี้มีเอกชนและการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้เช่าพื้นที่พัฒนาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว และสงขลา เพื่อก่อสร้างนิคมอุตสาหกรรมแล้วเสร็จและมีนักลงทุนเข้าใช้พื้นที่ดำเนินการแล้วส่วนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด นครพนม และกาญจนบุรี มีเอกชนผู้เช่าพื้นที่พัฒนาอยู่ระหว่างเตรียมการเข้าใช้พื้นที่ ขณะที่ เขตพัฒนาพิเศษเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก ทางกนอ.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ว่าที่เจ้าบ่าว เปิดใจ 'ชีวิตผมพังหมดแล้ว' เผย ยังทำใจไม่ได้ว่าที่เจ้าบ่าว เปิดใจ 'ชีวิตผมพังหมดแล้ว' เผย ยังทำใจไม่ได้ ระบุ 10 ปีที่ดูใจกันมา เราทั้งอยู่ไม่เคยห่างกัน วอนฝากเป็นอุทาหรณ์ 'เมาแล้วอย่าขับ'
อ่านเพิ่มเติม »
รองโฆษกรัฐบาลยกอานิสสงส์เอเปก ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มปีหน้า 20-24 ล้านคนรองโฆษกรัฐบาล ยกอานิสสงส์เอเปคปังไม่หยุด ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มปีหน้า 20-24 ล้านคน สร้างรายได้ 0.84-1.01 ล้านล้านบาท สะท้อนวิสัยทัศน์ 'ประยุทธ์' ดึงศักยภาพซอฟต์พาวเวอร์ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดกลยุทธ์ลงทุน'หุ้นปันผล'คัด 10 หุ้นเด่น รับยีลด์สูงสุด 11%ฤดูกาลหุ้นปันผลกำลังจะมาถึง 'KS' แนะเริ่มซื้อในเดือน ธ.ค.เลือกจาก SETHD Index และขายภายในสิ้น Q1/66 ก่อนขึ้น XD เผย 10 หุ้นยีลด์มากกว่า 4-11 % อัพไซด์เกิน 10%
อ่านเพิ่มเติม »
'รัฐบาล'ขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 10 จังหวัด ใช้ภูมิศาสตร์บวกอาเซียนบูม ศก.ท้องถิ่นเมื่อวันที่ 12 ธ.ค.65 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ซึ่งประกอบด้วย 10 จังหวัด คือ ตาก มุกดาหาร ตราด สระแก้ว สงขลา หนองคายนราธิวาส เชียงราย นครพนม และกาญจนบุรี ซึ่งการขับเคลื่อนเรื่องดังกล่าว เพื่อใช้ภูมิประเทศที่มีประเทศเพื่อนบ้านรายล้อมรอบทิศเป็นจุดแข็งในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาเศรษฐกิจประเทศให้มั่นคงและยั่งยืนโดยมีแนวทางการพัฒนา เช่น การกำหนดเงื่อนไขที่เอื้ออำนวยต่อนักลงทุน การต่อยอดการพัฒนาพื้นที่จากทรัพยากรที่มีอยู่เดิม การพัฒนาโครงสร้างพื้
อ่านเพิ่มเติม »
รัฐบาลโชว์ผลงาน! พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 10 จังหวัด : อินโฟเควสท์น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ซึ่งประกอบด้วย 10 จังหวัด คือ ตาก มุกดาหาร ตราด สระแก้ว สงขลา หนองคายนราธิวาส เชียงราย นครพนม และกาญจนบุรี ซึ่งการขับเคลื่อนเรื่องดังกล่าว เพื่อใช้ภูมิประเทศที่มีประเทศเพื่อนบ้านรายล้อมรอบทิศเป็นจุดแข็งในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาเศรษฐกิจประเทศให้มั่นคงและยั่งยืนโดยมีแนวทางการพัฒนา เช่น การกำหนดเงื่อนไขที่เอื้ออำนวยต่อนักลงทุน การต่อยอดการพัฒนาพื้นที่จากทรัพยากรที่มีอยู่เดิม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน การยกระดับการจัดการแรงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และการส่งเสริมการสร้างงาน ผลการดำเนินงานการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนอาทิ 1.การลงทุนของภาคเอกชนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนตั้งแต่ปี 2558 มีมูลค่าการลงทุนรวม 3.7 หมื่นล้านบาท ประกอบด้วยการส่งเสริมการลงทุนโครงการลงทุนของภาคเอกชนในพื้นที่พัฒนาที่ราชพัสดุเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด กาญจนบุรี และนครพนม การลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสระแก้วและสงขลา การจัดตั้งธุรกิจใหม่และการจัดตั้งเขตปลอดอากรและคลังสินค้าทัณฑ์บนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก มุกดาหาร หนองคาย เชียงรายและสงขลา 2.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมีความก้าวหน้า 89% โดยโครงการที่ก่อสร้างแล้วเสร็จในช่วงปี 2564 – 2565 เช่น ทางหลวงหมายเลข 3 ตราด-หาดเล็ก (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด) …
อ่านเพิ่มเติม »
“ไอยูซีเอ็น” เผย สิ่งมีชีวิตในทะเลเกือบ 10% เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ | เดลินิวส์บัญชีแดงขององค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ( ไอยูซีเอ็น ) ระบุว่า ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ไปจนถึงมลพิษ กำลัง “ทำลาย” สิ่งมีชีวิตในทะเล โดยเกือบ 10% ของพืชและสัตว์ใต้น้ำที่ได้รับการประเมินจนถึงขณะนี้ ถูกคุกคามด้วยการสูญพันธุ์
อ่านเพิ่มเติม »