ทวี สุรฤทธิกุล ประชาธิปไตยแนวอุดมคติที่มีมากว่า 200 ปี ต้องมาพังเพราะประชานิยม ที่เพิ่งเกิดขึ้นในยุคมิลเลนเนียมนี้ นักรัฐศาสตร์จำนวนหนึ่งมองว่า ประชาธิปไตยสมัยใหม่ในแนวอุดมคติคือประชาธิปไตยตามแนวคิดของจอห์น ล็อค ปราชญ์ชาวอังกฤษ ผู้เชื่อมั่นในเรื่อง “เสรีภาพและความเสมอภาค” ว่าจะทำให้สังคมก้าวหน้า น่าอยู่และมีความเข้มแข็ง...
นักรัฐศาสตร์จำนวนหนึ่งมองว่า ประชาธิปไตยสมัยใหม่ในแนวอุดมคติคือประชาธิปไตยตามแนวคิดของจอห์น ล็อค ปราชญ์ชาวอังกฤษ ผู้เชื่อมั่นในเรื่อง “เสรีภาพและความเสมอภาค” ว่าจะทำให้สังคมก้าวหน้า น่าอยู่และมีความเข้มแข็ง ดังที่บรรดาผู้ก่อตั้งสหรัฐอเมริกาได้นำแนวคิดนี้มาสร้างประเทศ รวมทั้งที่ได้นำคำพูดส่วนหนึ่งของจอห์น ล็อค บรรจุไว้เป็นหลักของรัฐธรรมนูญอเมริกันนั้นด้วย
สัปดาห์ ที่กรุงวอชิงตันดีซี โดยมีนักวิชาการจากทั่วโลกเข้าร่วมหลายพันคน ใช้โรงแรมเป็นที่จัดประชุมถึง 2 โรงแรม มีหัวข้อการวิจัยและการนำเสนอผลงานด้านรัฐศาสตร์กว่า 500 เรื่อง ซึ่งแน่นอนว่าเน้นในเรื่องที่เกี่ยวกับ Popularism นี้ทั้งสิ้น ผู้เขียนได้เคยนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับสาระในการประชุมครั้งนั้นไปบ้างแล้ว ทั้งที่นำมาเขียนในบทความนี้ และที่ได้ไปบรรยายให้นักศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
อมรกับเอมอร : ใครลิขิตชีวิตคู่? (3)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล เมื่อธรรมชาติปิดกั้นความเป็นพรหม บางคนบางคู่จึงต้องกลายเป็น “พรหมประดิษฐ์” ที่ไม่เพียงแต่ลิขิตชีวิตให้ตัวเอง แต่ยังสามารถลิขิตชีวิตให้สังคมอีกด้วย ในยุคมิลเลนเนียม ธุรกิจต่าง ๆ ได้เปลี่ยนวิธีการแข่งขันทางธุรกิจ จากการต่อสู้กันอย่างเอาเป็นเอาตาย ปั้นยอดขาย ทำลายคู่แข่ง แย่งลูกค้า และ “บ้ากำไร” มาสู่การทำธุกิจแบบยั่งยืน...
อ่านเพิ่มเติม »
โฉมหน้าประชาธิปไตยไทย (จบ)ทวี สุรฤทธิกุล ประชาธิปไตยมีหลายสายพันธุ์ ประเทศไทยก็ลองมาแล้วหลายแบบ และอาจจะต้องลองแบบใหม่ ๆ ต่อไป ในความรู้ที่ผู้เขียนประมวลรวบรวมได้ ทั้งจากที่เรียนมาในตำราทางรัฐศาสตร์และประสบการณ์ในการสอน รวมถึงที่ได้เข้าไปมีประสบการณ์ตรงทางการเมือง ตลอดเวลาเกือบ 50 ปีนี้ มองว่าประชาธิปไตยน่าจะมี 3 สายพันธุ์หลัก ๆ เมื่อพิจารณาจาก “การใช้”...
อ่านเพิ่มเติม »
อมรกับเอมอร : ใครลิขิตชีวิตคู่? (2)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล สำนวนไทยว่า”พ่อแม่คือพรหมของลูก” แต่ในยุคนี้ “เมื่อสังคมไม่ดีอย่ามี(ลูก)เสียดีกว่า” ในวัฒนธรรมของครอบครัวคนจีน การมีญาติพี่น้องเยอะ ๆ คือความยิ่งใหญ่งอกงามของวงศ์ตระกูล จึงให้ความสำคัญกับการมีลูกเยอะ ๆ นั้นด้วย โดยเฉพาะลูกชายที่จะมาเป็นผู้สืบตระกูล เช่นเดียวกันกับครอบครัวของอมรและเอมอร...
อ่านเพิ่มเติม »
โฉมหน้าประชาธิปไตยไทย (4)ทวี สุรฤทธิกุล หลายครั้งคาดว่าประชาธิปไตยไทยจะเปลี่ยนโฉม แต่แล้วก็ยังวนเวียนเป็น “ประชาธิปตาย” อยู่อย่างนั้น รัฐธรรมนูญ พ.ศ.
อ่านเพิ่มเติม »
อมรกับเอมอร : ใครลิขิตชีวิตคู่?ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล โบราณเชื่อว่าชีวิตเรามีพรหมลิขิต แต่สมัยใหม่หลายคนมองว่าชีวิตนี้เราต้องลิขิตเอง อมรเป็นเพื่อนสนิทคนหนึ่งของผม เราเรียนในคณะและมหาวิทยาลัยเดียวกัน ตั้งแต่ชั้นปี 1 จนกระทั่งจบการศึกษา จากนั้นหลายปีต่อมาก็ทราบว่า อมรจบดอกเตอร์จากสหรัฐอเมริกา แล้วได้ทำงานในหน่วยราชการแห่งหนึ่งอยู่ระยะหนึ่ง ก่อนที่จะออกมาทำธุรกิจของครอบครัว...
อ่านเพิ่มเติม »
ศศิมา : แม่ครัวในฝัน (4)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล มนุษย์ใช้ความฝันเป็นแรงบันดาลใจ หล่อเลี้ยงชีวิต และระบายสีสันให้โลกนี้น่าอยู่ วันเวลาผ่านไปอย่างช้า ๆ และยิ่งช้ามากขึ้นเมื่ออยู่ท่ามกลางความว้าเหว้เงียบเหงาในต่างบ้านต่างเมือง กว่าที่ศศิมาจะปรับความรู้สึกได้ก็ต้องใช้เวลาเป็นปี เมื่อเห็นว่าคงจะดิ้นรนกลับประเทศไทยด้วยตนเองไม่ได้ จึงตัดสินใจว่าจะพยายาม “กอบโกย” ทุกสิ่งทุกอย่างที่จะได้เป็นประโยชน์จากการต้องมาทุกข์ทรมานอยู่ที่เยอรมนี ดีกว่าที่จะปล่อยชีวิตให้ลอยจมไปในความเศร้าโศกสิ้นหวัง ศศิมาเมื่อทำใจได้ก็ยอมรับสภาพว่า ที่แท้ฝรั่งคนนี้ให้เธอมาเยอรมนีเพื่อเป็นพนักงานดูแลผู้สูงอายุ คือคุณแม่ของเขานั่นเอง โดยมูลนิธิแห่งหนึ่ง
อ่านเพิ่มเติม »