โฉมหน้าประชาธิปไตยไทย (จบ)

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

โฉมหน้าประชาธิปไตยไทย (จบ)
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 58 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 26%
  • Publisher: 63%

ทวี สุรฤทธิกุล ประชาธิปไตยมีหลายสายพันธุ์ ประเทศไทยก็ลองมาแล้วหลายแบบ และอาจจะต้องลองแบบใหม่ ๆ ต่อไป ในความรู้ที่ผู้เขียนประมวลรวบรวมได้ ทั้งจากที่เรียนมาในตำราทางรัฐศาสตร์และประสบการณ์ในการสอน รวมถึงที่ได้เข้าไปมีประสบการณ์ตรงทางการเมือง ตลอดเวลาเกือบ 50 ปีนี้ มองว่าประชาธิปไตยน่าจะมี 3 สายพันธุ์หลัก ๆ เมื่อพิจารณาจาก “การใช้”...

ในความรู้ที่ผู้เขียนประมวลรวบรวมได้ ทั้งจากที่เรียนมาในตำราทางรัฐศาสตร์และประสบการณ์ในการสอน รวมถึงที่ได้เข้าไปมีประสบการณ์ตรงทางการเมือง ตลอดเวลาเกือบ 50 ปีนี้ มองว่าประชาธิปไตยน่าจะมี 3 สายพันธุ์หลัก ๆ เมื่อพิจารณาจาก “การใช้” ประชาธิปไตยของแต่ละประเทศ

สายพันธุ์ที่สอง คือประชาธิปไตยในแนวบังคับของรัฐ โดยผู้มีอำนาจในรัฐเป็นผู้ควบคุมให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ ส่วนใหญ่มักจะเป็นประเทศที่ต่อสู้เพื่อเอกราชตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 และเพิ่มมากขึ้นในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 บางประเทศก็ลอกเลียนแบบประเทศประชาธิปไตยเก่า ๆ จนก้าวเดินไปได้ดีพอสมควร แต่หลาย ๆ ประเทศก็กลายพันธุ์จนผิดเพี้ยน เช่นเป็นสังคมนิยมหรือเผด็จการไปเลยก็มี

ผู้เขียนยังชอบคำที่นักรัฐศาสตร์ในยุคก่อน 14 ตุลาคม 2516 เรียกระบอบการปกครองของไทยนี้ว่า “อำมาตยาธิปไตย” ที่มาจากภาษาอังกฤษว่า “Bureaucratism” อันมีความหมายถึง “ข้าราชการเป็นใหญ่” คำคำนี้พอมาถึงช่วงการต่อสู้ของคนเสื้อแดงกับคนเสื้อเหลือง ตั้งแต่ พ.ศ.

ตอนนี้ประเทศไทยเข้ามาถึงอีกจุดหนึ่งของ “การเปลี่ยนยุค” ที่ผู้เขียนเชื่อด้วยความรู้และประสบการณ์ว่า พรรคเพื่อไทยก็ไม่ได้ไว้ใจทหาร และอยากจะเกาะกุมอำนาจนั้นให้นานเท่านาน และแน่นอนทหารก็ต้องแสดงท่าทีไม่ไว้ใจพรรคเพื่อไทย ทั้งนี้ก็เพื่อรักษา “ความยิ่งใหญ่” ของกองทัพนั้นไว้ให้เหนือพรรคการเมือง และให้อำนาจยังคงอยู่ในมือของทหารนั้น มากกว่านักการเมืองที่ประชาชนก็ยังไม่ค่อยจะไว้วางใจ พูดง่าย ๆ ก็คือพรรคการเมืองที่อยากมีอำนาจ ก็จำเป็นจะต้องใช้นโยบายประชานิยมเพื่อมัดใจประชาชน เอาใจประชาชนเพื่อไว้ต่อสู้กับ...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

ส.บุญเสนอ นักเขียนยุคเพลินจิตต์ผู้(เกือบ)ถูกลืม(จบ)ส.บุญเสนอ นักเขียนยุคเพลินจิตต์ผู้(เกือบ)ถูกลืม(จบ)“อาชีพนักประพันธ์แม้จะไส้แห้งอยู่บ้าง แต่ก็เป็นอาชีพที่มีเกียรติ อย่างน้อยเมื่อตัวตายก็ยังมีชื่อ มีผลงานเหลืออยู่ไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา ผมเป็นแค่นักเขียนแก่ ๆ คนหนึ่ง ไม่ใช่นักเขียนโด่งดังอะไร แค่ร่วมรุ่นกับนักเขียนดังเท่านั้นเอง” ส.
อ่านเพิ่มเติม »

อมรกับเอมอร : ใครลิขิตชีวิตคู่? (2)อมรกับเอมอร : ใครลิขิตชีวิตคู่? (2)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล สำนวนไทยว่า”พ่อแม่คือพรหมของลูก” แต่ในยุคนี้ “เมื่อสังคมไม่ดีอย่ามี(ลูก)เสียดีกว่า” ในวัฒนธรรมของครอบครัวคนจีน การมีญาติพี่น้องเยอะ ๆ คือความยิ่งใหญ่งอกงามของวงศ์ตระกูล จึงให้ความสำคัญกับการมีลูกเยอะ ๆ นั้นด้วย โดยเฉพาะลูกชายที่จะมาเป็นผู้สืบตระกูล เช่นเดียวกันกับครอบครัวของอมรและเอมอร...
อ่านเพิ่มเติม »

โฉมหน้าประชาธิปไตยไทย (4)โฉมหน้าประชาธิปไตยไทย (4)ทวี สุรฤทธิกุล หลายครั้งคาดว่าประชาธิปไตยไทยจะเปลี่ยนโฉม แต่แล้วก็ยังวนเวียนเป็น “ประชาธิปตาย” อยู่อย่างนั้น รัฐธรรมนูญ พ.ศ.
อ่านเพิ่มเติม »

อมรกับเอมอร : ใครลิขิตชีวิตคู่?อมรกับเอมอร : ใครลิขิตชีวิตคู่?ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล โบราณเชื่อว่าชีวิตเรามีพรหมลิขิต แต่สมัยใหม่หลายคนมองว่าชีวิตนี้เราต้องลิขิตเอง อมรเป็นเพื่อนสนิทคนหนึ่งของผม เราเรียนในคณะและมหาวิทยาลัยเดียวกัน ตั้งแต่ชั้นปี 1 จนกระทั่งจบการศึกษา จากนั้นหลายปีต่อมาก็ทราบว่า อมรจบดอกเตอร์จากสหรัฐอเมริกา แล้วได้ทำงานในหน่วยราชการแห่งหนึ่งอยู่ระยะหนึ่ง ก่อนที่จะออกมาทำธุรกิจของครอบครัว...
อ่านเพิ่มเติม »

เรียนสายไหนก็สอบหมอได้ กสพท เปลี่ยนหลักเกณฑ์ปี 67เรียนสายไหนก็สอบหมอได้ กสพท เปลี่ยนหลักเกณฑ์ปี 67ช่วงมัธยมปลาย เป็นช่วงที่เด็ก ๆ หลายคนต้องเลือก “แผนการเรียน” ว่าจะเรียนอะไรดีระหว่าง “สายวิทย์” หรือ “สายศิลป์” ซึ่งในช่วงของการเลือกแผนการเรียนและช่วงของการใช้เวลาอยู่ในแผนการเรียนที่เลือกเป็นเวลา 3 ปีนี้ ถือเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อสำคัญในการตัดสินอนาคต
อ่านเพิ่มเติม »

ศศิมา : แม่ครัวในฝัน (4)ศศิมา : แม่ครัวในฝัน (4)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล มนุษย์ใช้ความฝันเป็นแรงบันดาลใจ หล่อเลี้ยงชีวิต และระบายสีสันให้โลกนี้น่าอยู่ วันเวลาผ่านไปอย่างช้า ๆ และยิ่งช้ามากขึ้นเมื่ออยู่ท่ามกลางความว้าเหว้เงียบเหงาในต่างบ้านต่างเมือง กว่าที่ศศิมาจะปรับความรู้สึกได้ก็ต้องใช้เวลาเป็นปี เมื่อเห็นว่าคงจะดิ้นรนกลับประเทศไทยด้วยตนเองไม่ได้ จึงตัดสินใจว่าจะพยายาม “กอบโกย” ทุกสิ่งทุกอย่างที่จะได้เป็นประโยชน์จากการต้องมาทุกข์ทรมานอยู่ที่เยอรมนี ดีกว่าที่จะปล่อยชีวิตให้ลอยจมไปในความเศร้าโศกสิ้นหวัง ศศิมาเมื่อทำใจได้ก็ยอมรับสภาพว่า ที่แท้ฝรั่งคนนี้ให้เธอมาเยอรมนีเพื่อเป็นพนักงานดูแลผู้สูงอายุ คือคุณแม่ของเขานั่นเอง โดยมูลนิธิแห่งหนึ่ง
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-03-30 09:25:30