มีข้อมูลเท็จเกี่ยวกับวัคซีน Tdap ที่ถูกแชร์บน Facebook ในต่างประเทศ อ้างว่าการฉีดวัคซีน Tdap ให้กับแม่เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคคอตีบ โรคไอกรน และโรคบาดทะยักแก่ทารกในครรภ์ ผู้ตรวจสอบพบว่าข้อเท็จจริงนี้ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการก่อโรคและการทำงานของวัคซีน
02 ธันวาคม 2567แปลและเรียบเรียงบทความ: อดิศร สุขสมอรรถ ตรวจทานและพิสูจน์อักษร: คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลเท็จเกี่ยวกับ วัคซีน Tdap เผยแพร่ทาง Facebook ในต่างประเทศ โดยอ้างว่าการฉีด วัคซีน Tdap ให้กับแม่เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน โรคคอตีบ โรคไอกรน และ โรคบาดทะยัก แก่ทารกในครรภ์ นอกจากจะไม่มีประโยชน์แล้ว ยังเพิ่มความเสี่ยงทำให้ทารกได้รับเชื้อ โรคไอกรน จากแม่ที่ฉีดวัคซีน แล้วติดเชื้อแบบไม่มีอาการ บทสรุป: FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง : อย่างไรก็ดี ตรรกะที่ว่าวัคซีนเป็นอันตราย
เพราะทำให้แม่ที่ฉีดวัคซีนติดเชื้อแบบไม่มีอาการ และแพร่เชื้อไปยังทารกโดยไม่รู้ตัว ต่างจากแม่ที่ไม่ฉีดวัคซีน ที่ติดเชื้อแล้วจะแสดงอาการอย่างชัดเจน ทำให้ง่ายต่อการสังเกตและหลีกเลี่ยง เป็นการอ้างที่ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการก่อโรคและการทำงานของวัคซีนอย่างชัดเจน โดยปกติแล้ว การแพร่เชื้อจะเกิดขึ้นในระยะที่เชื้อโรคกำลังฟักตัวช่วง 1-2 สัปดาห์ ไม่ว่าผู้เป็นพาหะของโรคจะฉีดวัคซีนหรือไม่ก็ตาม นอกจากนี้ ผู้ติดเชื้อโรคไอกรนที่ไม่ฉีดวัคซีน สามารถแพร่เชื้อได้มากกว่าผู้ป่วยที่ฉีดวัคซีน ไม่ว่าผู้ป่วยจะแสดงอาการหรือไม่ก็ตาม ความถี่ของโรคไอกรนในทารก ข้อมูลจากศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (CDC) พบว่า 1 ใน 3 22 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลแชร์ 5 อาการสัญญาณโรคไอกรน มีทั้งไอแห้งรุนแรง 2-3 สัปดาห์ ไข้ต่ำ 38 องศา มีน้ำมูกและอาเจียน มีเลือดออกบริเวณตาขาว และหายใจเข้ามีเสียง “วู้ฟ” สรุป: ✅ แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ 19 พฤศจิกายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ บริษัทยาในจีนที่กำลังถูกสอบสวนเรื่องจำหน่ายวัคซีนสำหรับเด็กต่ำกว่ามาตรฐาน ผลิตวัคซีนต่ำกว่ามาตรฐานเกือบ 500,000 ชุด หรือมากกว่าที่ประเมินในตอนแรกเกือบสองเท่
วัคซีน Tdap โรคคอตีบ โรคไอกรน โรคบาดทะยัก ตรวจสอบข้อเท็จจริง
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
รู้จักวัคซีน Tdap เกราะป้องกันโรคไอกรน ฉีดก่อน ลดเสี่ยงติดเชื้อชวนทำความรู้จักกับ 'วัคซีน Tdap' เกราะป้องกันโรคไอกรนสำหรับคนทุกวัย ลดความเสี่ยงติดเชื้อและแพร่กระจายโรค
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จักวัคซีน Tdap เกราะป้องกันโรคไอกรน ฉีดก่อน ลดเสี่ยงติดเชื้อชวนทำความรู้จักกับ 'วัคซีน Tdap' เกราะป้องกันโรคไอกรนสำหรับคนทุกวัย ลดความเสี่ยงติดเชื้อและแพร่กระจายโรค
อ่านเพิ่มเติม »
'โรคไอกรน' ติดต่อง่ายหรือไม่ พ่อแม่ต้องเฝ้าระวังอย่างไร?โรคไอกรน (Pertussis หรือ Whooping Cough) เป็นโรคติดต่อ ติดเชื้อผ่านระบบทางเดินหายใจ ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย ในกลุ่มบอร์เดเทลลา เพอร์ทัสซิส (Bordetella Pertussis) แพร่กระจายโดย ติดต่อจากคนสู่คน ผ่านการไอหรือจาม ผ่านสารคัดหลั่งของผู้มีเชื้อ โดยเชื้อมักอยู่ในลำคอ และทางเดินหายใจส่วนต้นของผู้ป่วย ซึ่งจะติดต่อกันได้ง่ายจากการสัมผัสโรคโดยตรง...
อ่านเพิ่มเติม »
อย่ามองข้ามอาการไอที่ดูเหมือนธรรมดา แต่อาจเป็นสัญญาณของ 'โรคไอกรน''ไอกรน' โรคร้ายที่อาจทำให้ทำให้เด็กเล็กมีโอกาสป่วยหนักและเสียชีวิตได้สูงกว่าผู้ใหญ่หลายเท่า
อ่านเพิ่มเติม »
'โรคไอกรน' ป่วยยืนยัน 20 คน ติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิดกรมควบคุมโรค ส่งทีมลงพื้นที่สอบสวน 'โรคไอกรน' ยืนยันผู้ป่วย 20 คน อยู่ระหว่างติดตามและควบคุมโรคในกลุ่มผู้สัมผัสใกล้ชิดเพิ่มเติม แนะผู้ปกครองพาบุตรหลานไปรับวัคซีนให้ครบตามกำหนด วันนี้ (13 พ.ย.2567) นพ.
อ่านเพิ่มเติม »
“รมว.สธ.” อย่ากังวล “โรคไอกรน” หลังระบาด ในรร.สาธิต มศว. ปทุมวัน ชี้เด็กไทยส่วนใหญ่ฉีดวัคซีนครบ ช่วยลดอาการรุนแรง“รมว.สธ.” อย่ากังวล “โรคไอกรน” หลังระบาด ในรร.สาธิต มศว. ปทุมวัน จนต้องปิด 2 สัปดาห์ ชี้เด็กไทยส่วนใหญ่ฉีดวัคซีนครบ ช่วยลดอาการรุนแรง สั่งเร่งคัดกรองผู้สัมผัสใกล้ชิดให้ยาป้องกันในกลุ่มเสี่ยง แนะกลุ่มเปราะบางฉีดเข็มกระตุ้น ยันไม่ประมาทเฝ้าระวังจนถึงสิ้นปี วันที่ 13 พ.ย.
อ่านเพิ่มเติม »