ความเสมอภาค? 'หมอธีระวัฒน์'ยกบทความ 'ประวัติศาสตร์อัปยศ วิจัยทางการแพทย์'

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ความเสมอภาค? 'หมอธีระวัฒน์'ยกบทความ 'ประวัติศาสตร์อัปยศ วิจัยทางการแพทย์'
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 naewna_news
  • ⏱ Reading Time:
  • 54 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 25%
  • Publisher: 51%

คลิกอ่านข่าว : ความเสมอภาค? หมอธีระวัฒน์ ยกบทความ ...ประวัติศาสตร์อัปยศ วิจัยทางการแพทย์ อัปยศ ประวัติศาสตร์ หมอธีระวัฒน์ วิจัยทางการแพทย์

เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2566 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เปิดเผยผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว โดยระบุว่า ประวัติศาสตร์อัปยศ วิจัยทางการแพทย์

การชักชวนเชิญชวนประกอบไปด้วย การให้คำสัญญาว่าเป็นการเข้าโครงการที่มีการรักษาฟรีเป็นพิเศษ ซึ่งความจริงแล้วคือการเจาะน้ำไขสันหลังโดยไม่ต้องใช้ยาชา และดูผลกระทบที่เกิดขึ้นทางระบบประสาท จากการที่เชื้อซิฟิลิสเข้าไปในร่างกายและเข้าไปในสมองผู้ติดเชื้อทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการรักษาโดยการให้โลหะหนัก ซึ่งไม่ได้ช่วยอะไร แม้จนกระทั่งถึงในปี 1940 ซึ่งพบว่าเพนนิซิลินสามารถใช้รักษาโรคนี้ได้อย่างชะงัดและปลอดภัย

ในปี 1972 เมื่อข้อมูลการศึกษาต่างๆเหล่านี้ ปรากฏในสื่อมวลชนทำให้หน่วยงานของรัฐ Department of Health, Education and Welfare สั่งห้ามการวิจัยนี้ ในปี 1992 มีการชดเชยค่าเสียหายประมาณ 40,000 ดอลลาร์ต่อผู้ที่ยังรอดชีวิตอยู่ ภายใต้เงื่อนไขสัญญารอมชอม ในการฟ้องร้องและประธานาธิบดีของสหรัฐฯ คือบิล คลินตัน ได้ออกมากล่าวขอโทษต่อสาธารณชน และต่อผู้ที่ยังรอดชีวิตที่ยังเหลืออยู่เป็นจำนวนน้อยนิดในเดือนเมษายน 1997

ข้ออ้างต่างๆเหล่านี้จนกระทั่งข้อแก้ตัวที่อ้างว่า การรักษาไม่รู้จะได้ผลหรือเปล่าในขณะที่โรคยังอยู่ในระยะฟักตัว ทำให้ไม่มีการรักษาใดๆเกิดขึ้น จวบจนกระทั่งการ ทดลองนี้จบลงในปี 1972 และงบในการทดลองวิจัยก็ยังคงไม่ถูกนำมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยเหล่านี้

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

naewna_news /  🏆 43. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

วัย 30-40 ปี ความดันสูงไม่จัดการ สมองเสื่อมแน่!วัย 30-40 ปี ความดันสูงไม่จัดการ สมองเสื่อมแน่!ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า 30 ถึง 40 ความดันสูงไม่จัดการ สมองเสื่อมแน่
อ่านเพิ่มเติม »

หมอธีระวัฒน์ ชี้ WHO ยอมรับบริโภคสารหวานแทนน้ำตาล เสี่ยงหัวใจวาย อัมพฤกษ์หมอธีระวัฒน์ ชี้ WHO ยอมรับบริโภคสารหวานแทนน้ำตาล เสี่ยงหัวใจวาย อัมพฤกษ์ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา (หมอธีระวัฒน์) หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัว ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
อ่านเพิ่มเติม »

สารหวานในเครื่องดื่ม ไร้น้ำตาล เสี่ยงหัวใจวาย อัมพฤกษ์สารหวานในเครื่องดื่ม ไร้น้ำตาล เสี่ยงหัวใจวาย อัมพฤกษ์ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ให้ข้อมูลผ่านเฟซบุ๊ก ระบุ นับเป็น 10 ปีมาแล้วที่มีการใช้สารน้ำตาลเท
อ่านเพิ่มเติม »

คอกาแฟต้องรู้! ’หมอธีระวัฒน์’ บอกกาแฟกลายกลับเป็นดีคอกาแฟต้องรู้! ’หมอธีระวัฒน์’ บอกกาแฟกลายกลับเป็นดีศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กเรื่อง “กาแฟกลายกลับเป็นดี”
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอดื้อ' เตือน ใช้ยาถ่าย ยาระบาย บ่อย เสี่ยงสมองเสื่อม'หมอดื้อ' เตือน ใช้ยาถ่าย ยาระบาย บ่อย เสี่ยงสมองเสื่อมวันที่ 4 พ.ค.66 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ระบุว่า... การใช้ยาระบายชนิดเดี่ยวหรือหลายชนิดร่วมกันเพิ่มความเสี่ยงสมองเสื่อม...
อ่านเพิ่มเติม »

'หมอธีระวัฒน์' ลั่น โควิดเจอฝุ่น PM 2.5 เท่ากับชิบหาย ชี้เป็นกลไกความรุนแรงทำร้ายมนุษย์'หมอธีระวัฒน์' ลั่น โควิดเจอฝุ่น PM 2.5 เท่ากับชิบหาย ชี้เป็นกลไกความรุนแรงทำร้ายมนุษย์ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เผยผลกระทบร้ายแรงของเชื้อโควิด19 เจอฝุ่น PM 2.5 เท่ากับชิบหาย และเป็นกลไกความรุนแรงทำร้ายมนุษย์ โควิด19 ฝุ่นPM25
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-01 08:56:41