ข้อจำกัดทางประวัติศาสตร์(1)

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

ข้อจำกัดทางประวัติศาสตร์(1)
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 46 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 22%
  • Publisher: 63%

สถาพร ศรีสัจจัง “บางใคร” เชื่อว่า “ความเหลื่อมล้ำ” ทางการศึกษาเป็นต้นเหตุสำคัญสุดที่ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำด้านอื่นๆ โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำทางด้าน “เศรษฐกิจ-การเมือง” ที่นักคิดระดับ “ปราชญ์” ทั้งยุคเก่าและยุคใหม่ของบรรดาชาติ “จักรวรรดินิยมตะวันตก” ส่วนใหญ่เชื่อ และนำไปสู่การตั้ง “ทฤษฎี” ทางสังคมต่างๆขึ้นมากมาย “บางใคร”...

“บางใคร” เชื่อว่า “ความเหลื่อมล้ำ” ทางการศึกษาเป็นต้นเหตุสำคัญสุดที่ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำด้านอื่นๆ โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำทางด้าน “เศรษฐกิจ-การเมือง” ที่นักคิดระดับ “ปราชญ์” ทั้งยุคเก่าและยุคใหม่ของบรรดาชาติ “จักรวรรดินิยมตะวันตก” ส่วนใหญ่เชื่อ และนำไปสู่การตั้ง “ทฤษฎี” ทางสังคมต่างๆขึ้นมากมาย

ที่ จริง “กระบวนทัศน์” ที่เกิดจากการเรียนรู้ดังกล่าวของบรรดานักคิดหรือ “ปราชญ์” ชาวตะวันตกในอดีตเหล่านั้น ไม่ได้แตกต่างไปจากชาวตะวันออกเรา เลยกล่าวคือมี “กระบวนทัศน์” หลักๆอยู่เพียง 2 สาย สายหนึ่งเรียกว่า “จิตนิยม” กับอีกสายคือ “วัตถุนิยม” ถามว่า เมื่อ “ชนกลุ่มนำ” ส่วนใหญ่ของสังคมตะวันตกในอดีต เลือก “สมาทาน” ระบบคุณค่าแบบ “วัตถุนิยม” มาเป็น “ความคิดหลัก” ชี้นำในการพัฒนาสังคมของพวกเขา และสามารถ “กำหนดระบบคิด” ให้เกิด “ตรรกะ” ต่อการพิสูจน์ทราบถึง “คุณค่า” ของสิ่งต่างๆให้กับประชามหาชน จนกลายเป็น “วัฒนธรรม” ด้านหลัก ดังที่เห็นปรากฏเชิงประจักษ์อยู่ในกลุ่มชาวตะวันตกยุคปัจจุบันแล้วนั้น กระบวนทัศน์ที่เรียกว่า “จิตนิยม” เล่าหายสาบสูญไปเลยหรือ?เพราะภาพที่เราเห็นในวันนี้ โลกตะวันตกยังมีสิ่งที่เรียกว่าปรากฏการณ์ทาง “การผลิต” เชิง “วัฒนธรรม”...

ส่วนรายละเอียดที่ว่าพวกเขาใช้เครื่องมืออะไรในการผนวกรวม หรือผนวกรวมอย่างไรนั้น คงเป็นอีกประเด็น ที่น่าจะต้องอภิปรายกันอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะต่างหากกระมัง?

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

สัตว์สงคราม?สัตว์สงคราม?สถาพร ศรีสัจจัง นักปรัชญาตะวันตกชาวนครกรีก (สังคมที่เป็นฐานรากทางความคิด และ “กระบวนทัศน์” หรือ ที่ภาษาฝรั่งเรียกว่า “Paradign” สำคัญที่สุดของชาติตะวันตกวันนี้) อย่างนาย “อริสโตเติล (Aristotle) กล่าวสรุปความถึงลักษณะสำคัญที่พิเศษสุดของความเป็นมนุษย์ จนกลายเป็นเหมือน “สิ่งที่เห็นจริงแล้ว” ทางเรขาคณิตไปในที่สุด สรุปเป็น “วาทกรรม” (Discourse)...
อ่านเพิ่มเติม »

ไทยดิ่ง…กลาง โลกเดือด (Global boiling)(1)ไทยดิ่ง…กลาง โลกเดือด (Global boiling)(1)สถาพร ศรีสัจจัง องค์การสหประชาชาติ(UN.) ออกประกาศเตือนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศบนโลก โดยชี้ว่าเดือนกรกฎาคม ปี 2023 ซึ่งถูกจัดว่าเป็นเดือนที่ร้อนสุดนั้น ภูมิอากาศโลกได้เปลี่ยนจากยุค “โลกร้อน” เข้าสู่ยุค “โลกเดือด” หรือ “Global Boiling” ไปเรียบร้อยแล้ว นักวิทยาศาสตร์ด้านภูมิอากาศทั่วโลกสรุปตรงกันว่า ในรอบ 8 ปีที่ผ่านมา (จนถึงเดือนกรกฎาคม ค.ศ.
อ่านเพิ่มเติม »

“เซเปียนส์” ทลายโลก!“เซเปียนส์” ทลายโลก!สถาพร ศรีสัจจัง พบกลอนที่มีคนเขียนลงในหนังสือออนไลน์บทหนึ่ง ได้อ่านแล้วอยากนำมาเล่าสู่กันฟัง เพื่อช่วยกันนำมาขยายประเด็นต่อ เพราะรู้สึกว่าเป็นเรื่องช่วยกระตุกเตือนสติเหล่า “เซเปียนส์” หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เรียกกันว่าพวกสกุล “Homo” (โฮโม)สปีชีส์แยกย่อยว่า “เซเปียนส์” ทั้งหลาย ที่พัฒนามาถึงปัจจุบัน รู้จักและขานเรียกกันในชื่อที่ “วินทร์...
อ่านเพิ่มเติม »

ว่าด้วย 2 “วาทกรรม” อันทรงค่า! (2)ว่าด้วย 2 “วาทกรรม” อันทรงค่า! (2)สถาพร ศรีสัจจัง คาฮ์ลิล ยิบราน (Kahlil Gibran. ค.ศ.1883-1931) เลือดเนื้อเชื้อไขเลบานอน เป็นกวีร่วมสมัยคนสำคัญที่สุดของโลกคนหนึ่งแห่งศตวรรษที่ 20 บทนิพนธ์ประเภท “Prose poem” เรื่อง “The Proplet” (ศาสตราจารย์ ดร.
อ่านเพิ่มเติม »

ว่าด้วย 2 “วาทกรรม” อันทรงค่า! (1)ว่าด้วย 2 “วาทกรรม” อันทรงค่า! (1)สถาพร ศรีสัจจัง มี “วาทกรรม” (discouse)อยู่ 2 วาทกรรม ที่มักจะ “วาบ” ขึ้นในความรู้สึกเสมอๆ เมื่อต้องเผชิญกับภาวะบางภาวะ ที่รู้สึกอึดอัดจากความ “อยากให้เราเป็น” แบบอื่น (ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแบบที่น่าจะไม่ใช่เรา) วาทกรรมแรกที่มัก “วาบ” จี๊ดขึ้นมาก็คือ “มนุษย์จะมีชีวิตอยู่ภายใต้ความเชื่อของผู้อื่นได้อย่างไร!” และ วาทกรรมที่ 2 ที่มักรู้สึกตามถัดมา...
อ่านเพิ่มเติม »

“นิติสงคราม” ของจริง! (3)“นิติสงคราม” ของจริง! (3)สถาพร ศรีสัจจัง คำ “นิติสงคราม” ที่ฟังว่าเป็นคำที่คิดประดิษฐ์ขึ้นโดย รศ.ดร.
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-18 18:11:44