ตามที่มีข้อมูลประเด็นสุขภาพเรื่องนำต้นตำแยแมวมาต้มเป็นชา ดื่มแล้วช่วยดูแลภูมิแพ้ที่เกิดจากระบบหายใจ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง
สาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
จากที่มีผู้โพสต์ให้คำแนะนำโดยระบุว่า นำต้นตำแยแมวมาต้มเป็นชา ดื่มแล้วช่วยดูแลภูมิแพ้ที่เกิดจากระบบหายใจ ทางกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ต้นตำแยแมว หากนำมาต้มเป็นชาชงดื่มเพียง 1 แก้ว สามารถช่วยรักษาอาการภูมิแพ้ที่เกิดจากระบบหายใจได้ เนื่องจากข้อมูลหลักฐานทางภูมิปัญญา อาจมีการระบุถึงการใช้รักษาอาการทางภูมิแพ้ที่มีเสมหะติดขัดหรือหอบหืดได้ แต่หลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันยังไม่พบข้อมูลที่ช่วยสนับสนุนที่ตรงกับสรรพคุณดังกล่าวเพียงพอ...
ทั้งนี้ การศึกษาวิจัยด้านฤทธิ์ยาของสมุนไพรตำแยแมวในปัจจุบันนี้ยังคงเป็นเพียงการทดสอบระดับหลอดทดลองและสัตว์ทดลองเท่านั้น ยังไม่พบการศึกษาถึงขนาดและรูปแบบที่เหมาะสมของการรับประทานหรือใช้ในมนุษย์ โดยเฉพาะสรรพคุณที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเรื่องอาการของโรคภูมิแพ้ ดังนั้นการจะนำมาใช้รับประทานเป็นยาจึงเป็นสิ่งที่ต้องมีความระมัดระวัง...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
3 วิธี หลีกเลี่ยงการเสียชีวิตกะทันหันในตอนกลางคืน แนะนำโดยแพทย์ เป็นข่าวปลอม อย่าแชร์
อ่านเพิ่มเติม »
เปิด 10 อันดับ 'ข่าวปลอม' ที่คนสนใจสูงสุด เจอแบบนี้อย่าเชื่อเด็ดขาด!ดีอีเอส เปิดผลมอนิเตอร์ข่าวปลอมรอบสัปดาห์ พบเฟคนิวส์ มิจฉาชีพอ้างกระทรวงการคลังเปิดตัวแอปพลิเคชัน ให้ประชาชนกดลิงก์ดาวน์โหลด เพื่อดดูดเงิน อาละวาดหนัก เตือนอย่าหลงเชื่อควรตรวจสอบใ
อ่านเพิ่มเติม »
ข่าวปลอม อย่าแชร์! เดินไขว้เท้าเหมาะกับทุกคน เพราะช่วยให้หัวใจแข็งแรง
อ่านเพิ่มเติม »
ข่าวปลอม อย่าแชร์! ลุกจากที่นอนกะทันหัน ทำให้กระดูกกะโหลกศีรษะแตก หัวใจหยุดเต้น
อ่านเพิ่มเติม »
ข่าวปลอม อย่าแชร์! ชาวแม่สายเริ่มไอเป็นเลือดหลังเจอพิษโรงงานถ่านหินจีน ที่อยู่ในพม่า ปล่อยสารไฮโดรเจนไซยาไนด์
อ่านเพิ่มเติม »
อย่าหลงเชื่อ! กรมที่ดินเตือน ข่าวปลอม อย่าแชร์ กรมที่ดินโทรติดต่อ ปชช.-ส่งไลน์เพื่อให้อัปเดตข้อมูลเรื่องเล่าเช้านี้ กรมที่ดิน แจงไม่มีนโยบายโทรติดต่อประชาชน ส่งไลน์เพื่อให้อัปเดตข้อมูล หรือให้ยืนยันกรรมสิทธิ์ผ่านทางลิงก์ต่าง ๆ เตือนอย่าหลงเชื่อ ข่าวช่อง3 ข่าวสังคม
อ่านเพิ่มเติม »