วันที่ 10 ต.ค.66 กรมชลประทาน วางแผนติดตั้งเครื่องสูบน้ำ และเครื่องผลักดันน้ำเพิ่มเติมบริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำต่างๆ ที่ตั้งอยู่ตามคลองชายทะเล เพื่อเร่งระบายน้ำจากพื้นที่ตอนบนลงสู่อ่าวไทย บรรเทาความเดือดร้อนให้กับพี่น้องประชาชน ตามนโยบายของรัฐบาล และร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อาทิ 🚨 วางแผนติดตั้งเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่แบบไฮดรอลิค จำนวน 2 เครื่อง บริเวณประตูระบายน้ำชลหารพิจิตร ตำบลคลองด่าน อำบลบางบ่อ และ เครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่แบบไฮรดรอลิค อีกจำนวน 3 เครื
วันที่ 10 ต.ค.66 กรมชลประทาน วางแผนติดตั้งเครื่องสูบน้ำ และเครื่องผลักดันน้ำเพิ่มเติมบริเวณประตูระบายน้ำและสถานีสูบน้ำต่างๆ ที่ตั้งอยู่ตามคลองชายทะเล เพื่อเร่งระบายน้ำจากพื้นที่ตอนบนลงสู่อ่าวไทย บรรเทาความเดือดร้อนให้กับพี่น้องประชาชน ตามนโยบายของรัฐบาล และร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อาทิ
🚨 วางแผนติดตั้งเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่แบบไฮดรอลิค จำนวน 2 เครื่อง บริเวณประตูระบายน้ำชลหารพิจิตร ตำบลคลองด่าน อำบลบางบ่อ และ เครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่แบบไฮรดรอลิค อีกจำนวน 3 เครื่อง ติดตั้งบริเวณสถานีสูบน้ำตำหรุ ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 🚨 วางแผนติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ จำนวน 4 เครื่อง บริเวณสะพานวัดท้องคุ้ง ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ
ทั้งนี้ กรมชลประทาน ยังคงเดินหน้าติดตั้งเครื่องสูบน้ำเพิ่มเติม เพื่อเร่งระบายน้ำที่มาจากพื้นที่ตอนบนและน้ำจากฝนที่ตกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ไหลลงสู่ทะเลอ่าวไทยให้เร็วที่สุด คาดว่าจะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้กับพี่น้องประชาชนได้เป็นอย่างมาก โดยจะดำเนินการไปจนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ภาวะปกติ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
กรมชลฯ ติดตั้งเครื่องสูบน้ำพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จับตาเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิดกรมชลฯ ติดตั้งเครื่องสูบน้ำพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จับตาเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิด
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ เร่งติดตั้งเครื่องสูบน้ำพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยกรมชลฯ เร่งติดตั้งเครื่องสูบน้ำพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จับตาเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิด กรมชลประทาน เดินหน้าติดตั้งเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องสูบน้ำ
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ เร่งระบายน้ำแจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยาอาจได้รับผลกระทบกรมชลฯ แจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยา ฉบับที่ 4 เพิ่มระบายน้ำเขื่อนเจ้าพระยา จาก 1,500 เป็น 1,800 ลบ.ม./วินาที พื้นที่ท้ายเขื่อนเฝ้าระวังน้ำสูงขึ้นจากเดิมอีก 80 ซ.ม. อาจกระทบชุมชนบางพื้นที่
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ แจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยา น้ำล้นตลิ่ง หลังเขื่อนเจ้าพระยาระบายน้ำเพิ่ม จาก 1,500 เป็น 1,800 ลบ.ม./วินาทีชัยนาท - กรมชลฯ แจ้งเตือนลุ่มเจ้าพระยา ฉบับที่ 4 เพิ่มระบายน้ำเขื่อนเจ้าพระยา จาก 1,500 เป็น 1,800 ลบ.ม./วินาที พื้นที่ท้ายเขื่อนเฝ้าระวังน้ำสูงขึ้นจากเดิมอีก 80 ซ.ม. อาจกระทบชุมชนบางพื้นที่
อ่านเพิ่มเติม »
กรมชลฯ เตือนพื้นที่ลุ่มต่ำ เตรียมรับมือน้ำเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มสูงขึ้นกรมชลฯ ออกประกาศแจ้งเตือน ฉบับที่ 4 พื้นที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา เตรียมรับมือน้ำล้นตลิ่งสูง 20-80 ซม. ระหว่างวันที่ 9-15 ต.ค.2566
อ่านเพิ่มเติม »
น้ำเหนือยังสูง!! กรมชลฯ บริหารน้ำเข้าระบบชลประทาน ลดผลกระทบริมน้ำเจ้าพระยาตามที่สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ประกาศเฝ้าระวังน้ำหลาก ดินถล่ม และน้ำล้นตลิ่ง จากการติดตามสถานการณ์น้ำในช่วงที่ผ่านมาร่องมรสุมทำให้เกิดฝนตกหนักสะสมทั้งประเทศไทย ส่งผลให้มีน้ำในลำน้ำเพิ่มมากขึ้น โดยคาดการณ์ในช่วงวันที่ 8-11 ตุลาคม 2566 จะมีฝนตกหนักถึงหนักมาก ทำให้น้ำล้นตลิ่งบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำริมลำน้ำ ในช่วงวันที่ 9-15 ตุลาคม 2566 โดยเฉพาะแม่น้ำเจ้าพระยา คาดการณ์จะมีน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ำ ซึ่งเขื่อนเจ้าพระยาต้องการระบายน้ำในอัตรามากกว่า 1,500 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ต่อวินาที นั
อ่านเพิ่มเติม »