ธนาคารกรุงเทพ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยทั้งเงินฝากและเงินกู้ ตาม กนง. และคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่จะขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพต่อเนื่องในระยะยาว
วอชิงตัน 30 เม.ย.- ตลาดคาดการณ์กันอย่างกว้างขวางว่า ธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟด จะขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งที่ 10 และอาจเป็นครั้งสุดท้ายในการประชุมวันพุธนี้ตามเวลาสหรัฐ แม้ว่ามีสัญญาณมากขึ้นว่าเศรษฐกิจสหรัฐกำลังชะลอตัว นักวิเคราะห์และนักลงทุนคาดว่า เฟดจะขึ้นดอกเบี้ยอีกร้อยละ 0.
25 ในสัปดาห์หน้า และส่งสัญญาณระงับการขึ้นดอกเบี้ยในเดือนมิถุนายน ด้านซีเอ็มอี กรุ๊ป ซึ่งเป็นตลาดอนุพันธ์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกเผยว่า ผู้ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือฟิวเจอร์ส เทรดเดอร์มากกว่าร้อยละ 80 คาดว่าเฟดจะขึ้นดอกเบี้ยอีกร้อยละ 0.25 คณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงินของเฟดหรือเอฟโอเอ็มซี จะประชุมในวันที่ 2-3 พฤษภาคม ท่ามกลางสถานการณ์ที่แตกต่างอย่างมากจากการประชุมครั้งหลังสุดในเดือนมีนาคมที่เกิดวิกฤตภาคการธนาคารหลังจากธนาคารในสหรัฐต้องปิดกิจการหลายแห่ง ครั้งนั้นเฟดขึ้นดอกเบี้ยร้อยละ 0.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
กนง. มีมติ ‘ขึ้นดอกเบี้ย’ 0.25% สู่ 2.50%กนง.เอกฉันท์ ขึ้นดอกเบี้ย 0.25% สู่ 2.50% หวังคุมเงินเฟ้อ หลังคาดมีโอกาสเพิ่มขึ้นระยะข้างหน้า จากนโยบายภาครัฐ
อ่านเพิ่มเติม »
กนง. มีมติ ‘ขึ้นดอกเบี้ย’ 0.25% สู่ 2.50% พร้อมหั่นจีดีพี เหลือปีนี้โต 2.8%มติกนง.เอกฉันท์ ขึ้นดอกเบี้ย 0.25% สู่ 2.50% หวังคุมเงินเฟ้อ หลังคาดมีโอกาสเพิ่มขึ้นระยะข้างหน้า จากนโยบายภาครัฐ พร้อมทั้งหั่นจีดีพีปี 2566 เหลือโต 2.8% จากเดิม 3.6%
อ่านเพิ่มเติม »
HILITE: กลุ่มธนาคารพาณิชย์ปรับตัวขึ้น ขานรับกนง.ขึ้นดอกเบี้ย-กำไร Q3/66 เร่งตัวติดตามข่าวเศรษฐกิจ หุ้น การเงิน และประเด็นน่าสนใจรอบโลกที่นี่
อ่านเพิ่มเติม »
กนง.มติเอกฉันท์ ขึ้นดอกเบี้ย 0.25% มีผลทันทีคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเอกฉันท์ ขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีก 0.25% สู่ระดับ 2.25% ต่อปี มีผลทันที มองเศรษฐกิจไทยฟื้นใกล้ระดับศักยภาพ คาดเงินเฟ้อแนวโน...
อ่านเพิ่มเติม »
ระส่ำ! ขึ้นดอกเบี้ย-หั่นGDPเหลือ 2.8% หุ้นไทยเอาไง ?บอร์ด กนง. เคาะขวาขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีก 0.25% เป็น 2.5% มีผลทันที พร้อมหั่นเป้า GDP เหลือ 2.8% จาก 3.6% โบรกส่ายหน้าหวั่นหุ้นไทยร่วงได้อีก
อ่านเพิ่มเติม »