TTB คาดรายได้ 5 พืชเกษตรหลักลด 4% แนะเร่งรับมือภัยแล้งส่อกระทบยาวถึงปี 68 ttbanalytics ข้าว พืชเกษตร ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจทีทีบี เกษตรกร เพาะปลูก เอลนีโญ อินโฟเควสท์
ttb analytics คาดปี 67 รายได้เกษตรกร 5 พืชหลักลดลงราว 4% จากแรงกดดันของปรากฏการณ์เอลนีโญ ซึ่งเป็นการหดตัวติดต่อกัน 2 ปี จากปริมาณฝนที่น้อยลง กระทบผลผลิตเกษตรตั้งแต่ปี 67 และอาจลากยาวถึงปี 68 แนะเกษตรกรเร่งปรับตัวรับมือกรณีภัยแล้งที่อาจยาวนานกว่าคาด
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงความสำคัญเชิงระบบของภาคเศรษฐกิจไทย พบว่า มีความสำคัญเป็นอย่างมากในมิติของการเป็นแหล่งงานให้กับคนเกือบ 13 ล้านคน หรือคิดเป็นสัดส่วน 32.2% ของจำนวนแรงงานทั่วประเทศ รวมถึงมิติการกระจายรายได้ ที่แรงงานภาคเกษตรเป็นกลไกสำคัญในการจับจ่ายใช้สอยของภาคครัวเรือน ที่ไม่ได้มีการกระจุกตัวเหมือนกลุ่มแรงงานภาคอุตสาหกรรม
สำหรับปี 66 ttb analytics คาดรายได้เกษตรกรกลุ่ม 5 พืชเศรษฐกิจ มีแนวโน้มปรับลดลงเหลือ 8.40 แสนล้านบาท ลดลง 3.9% หรือราว 3.
1. กลุ่มพืชเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบ เป็นกลุ่มพืชที่ต้องการน้ำมาก เช่น ข้าว ที่คาดว่าผลผลิตในปี 67 ภาพรวมอาจลดลง 16-18% โดยเฉพาะผลผลิตข้าวนาปรังที่คาดมีผลผลิตลดลงถึง 35-40% และอ้อย ที่ผลผลิตอาจลดลงประมาณ 13-17% จากปริมาณฝนที่น้อยและขาดช่วงอาจส่งผลต่อความชื้นในดิน
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
TTB ชี้ขึ้นดอกเบี้ยท่ามกลางศก.ชะลอ-เงินเฟ้อขาลง GDP อาจโตไม่ถึง 3.4% : อินโฟเควสท์ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี (ttb analytics) มองว่า ผลจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงเป็นประวัติการณ์ในรอบหลายปี ทำให้การขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางที่มีอย่างต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมายังคงต่ำกว่าตัวเลขอัตราเงินเฟ้อ ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (Real Interest Rate) อยู่ในระดับต่ำจนอาจติดลบได้ในหลายประเทศ รวมถึงไทยด้วย อย่างไรก็ดี การเร่งขึ้นดอกเบี้ยเพื่อให้เพียงพอที่อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกลับมาเป็นบวกได้นั้น อาจจำเป็นต้องพิจารณาตัวแปร หรือองค์ประกอบด้านเศรษฐกิจและสังคมอื่นร่วมด้วย เพื่อรักษาสมดุลระหว่างระดับราคา เสถียรภาพทางการเงิน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะยาว ทั่วโลกขึ้นอัตราดอกเบี้ยไม่ทันเงินเฟ้อ ฉุดดอกเบี้ยจริงต่ำ หลังจากเศรษฐกิจทั่วโลกส่งสัญญาณฟื้นตัวอีกครั้ง จากภาวะอุปทานชะงักงัน (Supply Constraint) ของห่วงโซ่ผลิตหลักเริ่มคลี่คลาย ตลาดแรงงานฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว ขณะที่ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ยังทรงตัวสูงต่อไป จากผลพวงความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน เหล่านี้มีส่วนสนับสนุนให้อัตราเงินเฟ้อสูงกว่ากรอบเป้าหมายของธนาคารกลางทั่วโลก ส่งผลให้การดำเนินนโยบายจำเป็นต้องกลับทิศอย่างรวดเร็วหลังผ่านพ้นวิกฤตโควิด-19 ไปได้ไม่นาน นับแต่ต้นปี 65 ธนาคารกลางหลายแห่งมีความพยายามใช้นโยบายการเงินที่เข้มงวดต่อเนื่อง เพื่อหยุดยั้งความร้อนแรงของเงินเฟ้อ แต่ผลจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงเป็นประวัติการณ์ในรอบทศวรรษ ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (อัตราดอกเบี้ยหักลบอัตราเงินเฟ้อ) ยังอยู่ในระดับต่ำ เห็นได้จากอัตราดอกเบี้ยนโยบายปัจจุบัน เทียบกับอัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ทั้งปี 66 พบว่า อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงในหลายประเทศต่ำจนติดลบ เช่น ญี่ปุ่น (-3.1%) เยอรมนี (-2.2%) อังกฤษ (-1.8%) และไทย […]
อ่านเพิ่มเติม »
ซีอีโอ TTB ชี้หนี้เอสเอ็มอีเพิ่มดัน NPL สูงกระทบเป็นลูกโซ่ลามไปถึงหนี้ครัวเรือน : อินโฟเควสท์นายปิติ ตัณฑเกษม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารทหารไทยธนชาต (TTB) กล่าวว่า การเติบโตของประเทศไทยในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่มาจากการบริโภค แต่เป็นการบริโภคที่เกิดจากการกู้มาใช้จ่าย ทำให้มาพร้อมกับภาระหนี้ครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งประเทศไทยถือว่ามีหนี้ภาคครัวเรือนสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก ทำให้ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ต้องออกมาตรการมาดูแล เพราะการบริโภคที่เกิดจากการกู้มาจับจ่ายไม่เกิดความยั่งยืนต่อเศรษฐกิจ หนี้สินครัวเรือนของประชาชนที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสินเชื่อส่วนบุคคลที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งจากเดิมธนาคารพาณิชย์ไม่ได้เข้าไปเล่นในตลาดนี้มากนัก แต่หลังจากเศรษฐกิจไม่เติบโต ลูกค้ารายใหญ่หันไปออกหุ้นกู้ และผู้ประกอบการที่ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์โตมากขึ้น ทำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องเข้ามาเล่นในสินเชื่อบริโภคมากขึ้น แม้ว่าผลประกอบการธนาคารพาณิชย์ในไตรมาส 2/66 จะออกมาดีจากรายได้ดอกเบี้ยที่สูงขึ้น แต่จะเห็นว่าต้นทุนที่เกิดจากหนี้เสียก็ปรับเพิ่มขึ้น เพราะสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ยังอยู่ในระดับสูง และหนี้ที่มาจากธุรกิจเอสเอ็มอีก็ยังเพิ่มขึ้น หากมองไปที่ธุรกิจของธนาคารในต่างประเทศ เช่น ธนาคารในสหรัฐฯ ก็มีมาร์จิ้นที่เติบโตดี เพราะรูปแบบธุรกิจสามารถปรับเปลี่ยนได้ตลอดเวลา เพื่อหาการเติบโต หากเทียบกับธนาคารไทยการเติบโตน้อย มาร์จิ้นน้อย และความสามารถในการแข่งขันก็ยังต่ำ จะเห็นได้จากวงเงินรับฝาก 14 ล้านล้านบาท ที่ธนาคารรับฝากมา และนำไปปล่อยสินเชื่อต่อ หากดูที่วงเงินปล่อยสินเชื่อ 6 ล้านล้านบาท ส่วนใหญ่ปล่อยให้ธุรกิจรายใหญ่ ซึ่งสร้างมูลค่าเศรษฐกิจ 40% ของจีดีพี วงเงินปล่อยสินเชื่อ 3 ล้านล้านบาทให้เอสเอ็มอี […]
อ่านเพิ่มเติม »
ยอดการยื่นขอล้มละลายครึ่งปีแรกในสหรัฐพุ่ง 68% เซ่นพิษดอกเบี้ยสูง-เงินเฟ้อหนืด : อินโฟเควสท์อีปิก แบงก์รัปซี (Epiq Bankruptcy) ผู้ให้บริการข้อมูลการยื่นล้มละลายของสหรัฐ เปิดเผยว่า ยอดการยื่นขอล้มละลายตามมาตราที่ 11 ของสหรัฐในช่วงครึ่งแรกของปี 2566 พุ่งขึ้น 68% เมื่อเทียบรายปี รายงานระบุว่า เอสวีบี ไฟแนนเชียล กรุ๊ป (SVB Financial Group), เอ็นวิชัน เฮลท์แคร์ คอร์ป (Envision Healthcare Corp), เบด บาธ แอนด์ บียอนด์ (Bed Bath & Beyond), ปาร์ตี้ ซิตี้ โฮลด์โค (Party City Holdco), ลอร์ดสทาวน์ มอเตอร์ส์ (Lordstown Motors) และคิดดี เฟนวอล (Kidde-Fenwal) เป็นตัวอย่างบริษัทชื่อดังที่ยื่นขอล้มละลาย หลังได้รับผลกระทบจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยที่พุ่งสูงเป็นประวัติการณ์ และภาวะเงินเฟ้อหนืด (Sticky Inflation) นางเอมี ควาเคนบอส ผู้อำนวยการสถาบันอเมริกัน […]
อ่านเพิ่มเติม »
TTB กำไรสุทธิ 4.56 พันล้านในไตรมาส 2 เพิ่ม 33% จากดอกเบี้ยขาขึ้นTTB กำไรสุทธิไตรมาส 2 เพิ่มขึ้น 33% รายได้จากดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 14% จากดอกเบี้ยขาขึ้น คาดเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มชะลอตัวตามเศรษฐกิจโลก PPTVHD36 ครบทุกข่าวเข้าใจคอกีฬา TTB ทหารไทยธนชาต ผลประกอบการแบงก์ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม
อ่านเพิ่มเติม »
'ฟันด์โฟลว์' ครึ่งปีแรกไหลออก 1.07 แสนล้านบาท จับตา 3 ปัจจัยครึ่งปีหลังttb analytics คาดดัชนี SET Index ครึ่งหลังปี 66 มีโอกาสฟื้นตัวหลังตลาดรับรู้ความเสี่ยง-ฟันด์โฟลว์ไหลออกสุทธิกว่าแสนล้านบาทในครึ่งแรก 3 ปัจจัยพื้นฐานไทยเปราะบางสูง หวั่นฉุดโฟลว์ระยะยาว Setindex หุ้น ฟันด์โฟลว์
อ่านเพิ่มเติม »
เซ็นทรัลพัฒนา ร่วมกับ บัตรเครดิต ttb จัดแคมเปญ 'ช้อปตัวแม่' เอาใจนักช้อป'เซ็นทรัลพัฒนา' ร่วมกับ 'บัตรเครดิต ttb' จัดเต็มเอาใจนักช้อปในแคมเปญ 'ช้อปตัวแม่' กับแบรนด์แฟชั่นกว่า 70 แบรนด์ ที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัล 12 สาขา ทั่วประเทศ กรุงเทพธุรกิจ
อ่านเพิ่มเติม »