“แผลฟกช้ำ-รอยช้ำจ้ำเลือด” เกิดจากอะไร อันตรายแค่ไหน?

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

“แผลฟกช้ำ-รอยช้ำจ้ำเลือด” เกิดจากอะไร อันตรายแค่ไหน?
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 Sanook
  • ⏱ Reading Time:
  • 52 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 24%
  • Publisher: 63%

ใครเคยมีแผลฟกช้ำแบบนี้บ้าง มารู้สาเหตุและวิธีรักษาอย่างถูกต้องกันดีกว่า SanookHealth Sanook

เคยสังเกตตามร่างกายของตนเองบ้างหรือไม่ ว่าจู่ๆ ก็เกิดรอยฟกช้ำดำเขียวขึ้นมา เป็นจ้ำแดงๆ บ้าง เขียวๆ บ้าง หรือสีออกม่วงคล้ำก็มี บางทีก็กดเจ็บ บางทีก็ไม่รู้สึกอะไรเลย และบางครั้งก็ไม่รู้ตัวด้วยซ้ำว่าไปกระแทกอะไรมา Tonkit360 มีคำตอบ ว่ารอยช้ำนี้มาจากไหน แล้ว… อันตรายหรือเปล่า?เป็นอาการบาดเจ็บที่ผิวหนังอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นจากการที่มีเส้นเลือดฝอยจำนวนมากแตก จนมีเลือดสะสมอยู่ใต้ผิวหนัง ใน 1-2 ชั่วโมงจะค่อยๆ สลายแล้วมาคั่งรวมกัน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง มีผลให้ผิวหนังบริเวณนั้นเปลี่ยนเป็นรอยจ้ำช้ำสีคล้ำ...

อย่างไรก็ตามเส้นเลือดฝอยนั้นมีผนังที่บางมากๆ จึงเป็นทางเข้าออกในการแลกเปลี่ยนแก๊สและสารอาหารต่างๆ ได้ดี แต่เพราะมันบางมากนี่เอง จึงทำให้เส้นเลือดฝอยแตกได้ง่ายมาก นั่นจึงเป็นเหตุผลว่าในบางครั้งที่เราเดินชนโต๊ะเพียงเบาๆ ไม่ได้รู้สึกเจ็บตอนชน แต่กลับมีรอยช้ำขึ้นมาได้ส่วนมากแล้ว หากอวัยวะในร่างกายเราไปกระแทกกับอะไรเข้า รอยช้ำก็เกิดขึ้นได้เป็นปกติเป็นสิ่งที่เข้าใจได้ แต่สำหรับบางคนที่ไม่ได้ไปกระแทกอะไรมา หรืออวัยวะนั้นอยู่ในส่วนที่ไม่มีทางจะไปกระแทกกับอะไรให้เกิดรอยช้ำได้...

มีการกระแทกกระเทือนเบาๆ ในลักษณะที่เราไม่รู้ตัวเลยจริงๆ กรณีนี้พบได้มากในผู้หญิง เนื่องจากผิวหนังของผู้หญิงจะบางกว่าผู้ชาย เมื่อมีการกระแทกเพียงแค่เล็กน้อยเส้นเลือดฝอยก็อาจแตกได้ การขาดหรือได้รับสารอาหารอาหารบางอย่างที่ไม่สมดุล อย่างวิตามินซี และวิตามินเค ซึ่งเป็นวิตามินที่สำคัญสำหรับเส้นเลือด ซึ่งจะทำให้ผนังเส้นเลือดฝอยที่บางอยู่แล้วบางลงไปอีก

การใช้ยาบางชนิดที่มีผลให้เกล็ดเลือดจับตัวกันได้ไม่ดี จนทำให้เส้นเลือดฝอยแตก เช่น ยาแอสไพริน ยาไอบูโพรเฟน หรือยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดอื่นๆ รวมไปถึงยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท อย่างยาที่ใช้รักษา

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

Sanook /  🏆 22. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

“ย้อมผม-ทำสีผม” บ่อย อันตรายแค่ไหน ?“ย้อมผม-ทำสีผม” บ่อย อันตรายแค่ไหน ?ใครที่ชอบทำสีผมบ่อย ๆ ฟังทางนี้ ทำบ่อยแค่ไหนถึงเรียกว่า “อันตราย” SanookHealth Sanook
อ่านเพิ่มเติม »

โรคธาลัสซีเมียเกิดจากอะไร อาการยังไง อันตรายแค่ไหน เช็คเลยโรคธาลัสซีเมียเกิดจากอะไร อาการยังไง อันตรายแค่ไหน เช็คเลยโรคธาลัสซีเมียเกิดจากอะไร อาการยังไง อันตรายแค่ไหน เช็คเลยที่นี่มีคำตอบ กรมการแพทย์เผยข้อมูลจากทั่วโลกพบผู้ป่วยเด็กกว่า 80,000,000 คน แนะะพ่อแม่ควรวางแผนก่อนมีลูกเลี่ยงเด็กป่วยเลือดจาง โรคธาลัสซีเมีย
อ่านเพิ่มเติม »

“หอบหืดเฉียบพลัน” อันตรายแค่ไหน หลังคร่าชีวิต 'พี่นัท การ์ตูนคลับ'“หอบหืดเฉียบพลัน” อันตรายแค่ไหน หลังคร่าชีวิต 'พี่นัท การ์ตูนคลับ'รู้จัก “หอบหืดเฉียบพลัน” มีอันตรายมากแค่ไหน พร้อมวิธีสังเกตเเละปฐมพยาบาลเบื้องต้น หลังโรคนี้คร่าชีวิต 'พี่นัท การ์ตูนคลับ' ฐานเศรษฐกิจ หอบหืดเฉียบพลัน
อ่านเพิ่มเติม »

โรคหอบหืด อันตรายแค่ไหน ทำไมถึงทำให้เสียชีวิตได้โรคหอบหืด อันตรายแค่ไหน ทำไมถึงทำให้เสียชีวิตได้หอบหืดเป็นโรคที่อันตรายถึงชีวิตได้เหมือนกัน ดังนั้นใครเป็นอยู่ก็ควรเข้ารับการรักษากับแพทย์อย่างต่อเนื่องนะคะ หอบหืด
อ่านเพิ่มเติม »

เตือน! กินยาแก้ปวดมากยิ่งปวดหัว เพราะอะไร อันตรายแค่ไหน เช็คที่นี่เตือน! กินยาแก้ปวดมากยิ่งปวดหัว เพราะอะไร อันตรายแค่ไหน เช็คที่นี่เตือน! กินยาแก้ปวดมากยิ่งปวดหัว เพราะอะไร อันตรายแค่ไหน เช็คที่นี่มีคำตอบ หมอธีระวัฒน์แนะนอนหลับให้เพียงพอ การออกกำลังกาย การหลีกเลี่ยงปัจจัยการกระตุ้นที่ให้ปวดศีรษะมีความสำคัญ ยาแก้ปวด ปวดหัว ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »

งดมื้อเช้าเสี่ยงเสียชีวิตจากระบบหัวใจ-เส้นเลือด อันตรายแค่ไหน เช็คเลยงดมื้อเช้าเสี่ยงเสียชีวิตจากระบบหัวใจ-เส้นเลือด อันตรายแค่ไหน เช็คเลยงดมื้อเช้าเสี่ยงเสียชีวิตจากระบบหัวใจ-เส้นเลือด อันตรายแค่ไหน เช็คเลยที่นี่มมีคำตอบ หมอธีระวัฒน์เผยรายงานในวารสารสมาคมโรคหัวใจของอเมริกา ชี้เป็นสิ่งสำคัญ และควรส่งเสริม
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-16 17:45:04