หมายเหตุ : “เสรี สุวรรณภานนท์” อดีตสมาชิกวุฒิสภา ให้สัมภาษณ์รายการ “สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์” ออกอากาศทางช่องยูทูบ Siamrathonline มองการเมืองไทยข้ามช็อตไปถึงปีหน้า 2568 ทั้งในมิติการเมืองและการบริหารงานของรัฐบาล “แพทองธาร 1” เพื่อที่จะได้เห็นทิศทางข้างหน้าว่ายังมีปัญหา อุปสรรค ตลอดจน โอกาสที่กำลังรอท้าทายรัฐบาลอยู่บ้าง โดยออกอากาศเมื่อวันที่ 23 พ.ย.
หมายเหตุ : “เสรี สุวรรณภานนท์” อดีตสมาชิกวุฒิสภา ให้สัมภาษณ์รายการ “สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์” ออกอากาศทางช่องยูทูบ Siamrathonline มองการเมืองไทยข้ามช็อตไปถึงปีหน้า 2568 ทั้งในมิติการเมืองและการบริหารงานของรัฐบาล “แพทองธาร 1” เพื่อที่จะได้เห็นทิศทางข้างหน้าว่ายังมีปัญหา อุปสรรค ตลอดจน โอกาสที่กำลังรอท้าทายรัฐบาลอยู่บ้าง โดยออกอากาศเมื่อวันที่ 23 พ.ย.
สิ่งสำคัญของเสถียรภาพรัฐบาล จะอยู่ได้หรือไม่ จะอยู่เงื่อนไขกรณีที่มีคนส่งเรื่องไปร้องต่อองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ต่างๆ ที่ผ่านมาเป็นตัวแปรสำคัญสำหรับการเมืองในบ้านเรา จะเห็นได้ว่านายกฯคนที่แล้ว คุณเศรษฐา ทวีสิน ดูแล้วไม่น่าจะเกิดเรื่องอะไรได้เลย ทั้งที่คุณเศรษฐาเป็นผู้มีอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดิน สามารถตั้งรัฐมนตรีได้ กลับกลายเป็นว่าเมื่อตั้งคุณพิชิต ชื่นบาน ขึ้นมาแล้วศาลรัฐธรรมนูญ...
และต่อไปในปีหน้า เมื่อคดีความเหล่านี้ซาไปแล้ว ประเด็นทางการเมืองก็จะถูกหยิบยกขึ้นมา และจะทำให้เกิดปัญหาความวุ่นวายตามมาพอสมควร จากผลของคดี แต่ฝ่ายการเมืองทำอะไรมากไม่ได้ แม้ว่าฝ่ายค้านเอง จะมีพรรคประชาชนเป็นหลักที่กำหนดเอาไว้ว่าจะขอเปิดอภิปรายในสภาฯ ไม่ว่าจะอภิปรายทั่วไปโดยไม่ลงมติ หรืออภิปรายไม่ไว้วางใจก็ตาม ก็คงเป็นเพียงการแสดงอย่างหนึ่งเพราะเชื่อว่าในทางการเมืองก็มีการพูดคุยกันทั้งนั้น มันตกลงกันได้ ดังนั้นจะสังเกตได้ว่าฝ่ายค้านเองไม่มีอะไรหวือหวาเลย...
เชื่อว่า ตอนนี้ต่างคนก็แสดงบทบาทไปตามหน้าที่ เพราะเมื่อเป็นพรรคการเมืองก็จะต้องรักษาฐานเสียง พรรคประชาชนเองก็อยากได้คะแนนเสียงในส่วนของท้องถิ่นแต่ช่วงหลังๆจะสังเกตได้ว่าฝ่ายประชาชน เริ่มจะไหวตัวกัน โดยก่อนหน้านี้ก็มาตามกระแสของพรรคอนาคตใหม่ หรือพรรคก้าวไกล ที่มาตามกระแส แต่ไม่ได้มีความสัมพันธ์ ระหว่างประชาชนกับนักการเมือง พอเล่นกับกระแสก็ได้คะแนนมา แต่เมื่อประชาชนเกิดรู้ตัวขึ้นมา ฝ่ายพรรคการเมืองซีกบ้านใหญ่ เห็นกลยุทธ์แล้วก็ต้องแก้เกม ด้วยการดึงหัวคะแนนกลับมา การเข้าหาประชาชนมากขึ้น...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ครม.สัญจรปฐมฤกษ์! รัฐบาลอิ๊งค์ประเดิมเชียงใหม่-เชียงราย 28 พ.ย.-1 ธ.ค.นี้ครม.สัญจรปฐมฤกษ์! 'รัฐบาลอิ๊งค์' ประเดิมเชียงใหม่-เชียงราย 28 พ.ย.ถึง 1 ธ.ค.นี้ - ติดตามปัญหาฝุ่น-แก้ปัญหาชายแดน-ส่งเสริมท่องเที่ยวฟื้นเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
ดุสิตโพล ชี้คนไทยห่วงมาตรการกระตุ้นศก. รัฐบาลอิ๊งค์ สร้างภาระให้ประเทศสวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สำรวจความคิดเห็นประชาชนทั่วประเทศ เรื่อง “รัฐบาลแพทองธาร กับ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ” ระหว่างวันที่ 19-22 พฤศจิกายน 2567 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,227 คน สำรวจทางออนไลน์และภาคสนาม พบว่า...
อ่านเพิ่มเติม »
'ทักษิณ' วิเคราะห์ 'รัฐบาลอิ๊งค์' อยู่ครบเทอม มองคดีร้อง นายกฯไม่เป็นอุปสรรค!PPTVHD36 World Class TV ละครกลับไปสู่วันฝัน รายการวาไรตี้ The Voice 2019 เกมพันหน้า กิ๊กดู๋ สงครามเพลงเงินล้าน ถ่ายทอดสดพรีเมียร์ลีก และการแข่งขัน MotoGP 2019 ทันทุกสถานการณ์ข่าว เกาะติดดาราไทย และต่างประเทศ สุดมันกับซีรีส์ และภาพยนต์ระดับโลก
อ่านเพิ่มเติม »
ความยั่งยืนที่อาจเป็นความขมขื่นเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit “ความยั่งยืน” คำที่หลายคนฟังแล้วส่ายหน้า ได้ยินมานานจนไม่รู้แปลว่าอะไร ยิ่งระยะ 10 ปีมานี้ยิ่งถี่ขึ้น เพราะ “เป้าหมายการพัฒนายั่งยืน” (SDG 2015-2030) ของสหประชาชาติ และสโลแกนรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” แต่เรื่องจริงที่เรามิอาจปฏิเสธ มองข้ามหรือละเลยได้ คือ...
อ่านเพิ่มเติม »
เปลี่ยนแบบไหนจึงจะพัฒนาได้จริงเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit ในโลกที่มีการแข่งขันสูง จำเป็นต้องปรับตัวตลอดเวลา การที่ขนาด “เศรษฐกิจ” เวียดนามและฟิลิปปินส์กำล้งจะแซงไทยในไม่กี่ปีข้างหน้า เราคงต้องมาทบทวนกันจริงจังว่า เกิดอะไรขึ้น และควรทำอย่างไร คงไม่ต้องไปถามนักเศรษฐศาสตร์ที่ได้รับรางวัลโนเบลปีนี้ (เพราะรู้กันอยู่) ว่า ทำไมไทยจึง “ไม่พัฒนา” อย่างที่ควรเป็น ทั้งๆ...
อ่านเพิ่มเติม »
เกษตรกรรมกับอนาคตของชาติเสรี พงศ์พิศ Fb Seri Phogphit เมื่อโลกเดือด เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ความแห้งแล้ง น้ำท่วม ไฟป่า เกิดปัญหาการเกษตร การผลิตอาหารที่ขาดแคลน ราคาแพงขึ้น ปัญหาที่ทวีความรุนแรงขึ้นให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก การเกษตรไทยได้รับผลกระทบมาก เพราะส่วนใหญ่พึ่งพาธรรมชาติ แม้ผลผลิตมาก แต่มูลค่าน้อยไม่ถึงร้อยละ 10 ของจีดีพี ภาคเกษตรมีแรงงานหนึ่งในสาม...
อ่านเพิ่มเติม »