การเกิดขึ้นของปัจจัยเหล่านี้ สะท้อนให้เห็นอย่างน้อยที่สุดว่า โลกที่ครอบครองโดยสหรัฐอเมริกา เดินถึงทางตัน หรือ ถนนทุกสายไม่ได้มุ่งสู่วอชิงตันอีกต่อไป ฐานเศรษฐกิจ
ได้ผ่านพ้นไปแล้ว พูดง่ายๆ อีกแบบก็คือ ความเป็นมหาอำนาจเดี่ยวของประเทศสหรัฐอเมริกาเริ่มเข้าสู่ความเสื่อมถอยเสียแล้ว การชี้นำทั้งภาคสมัครใจและภาคบังคับโดยลุงแซมสำหรับประเทศอธิปไตยต่างๆ สิ้นมนต์ขลัง ไม่เหมือนดั่งที่เคยเป็นมาในอดีต
ผลลัพธ์ที่คาดการณ์ได้เห็นจะหนีไม่พ้นการสิ้นสุดของเงื่อนไขอันเป็นเอกลักษณ์ที่เป็นตัวขับเคลื่อนการเติบโต และการพัฒนาทางเศรษฐกิจของโลกตลอดระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมา แต่จะเห็นการเริ่มต้นเงื่อนไขใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์เช่นเดียวกันที่มีความซับซ้อนและท้าทาย ซึ่งต้องใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่แตกต่าง รวมถึงความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ สำหรับการขับเคลื่อนพัฒนาการทางเศรษฐกิจนับจากนี้เป็นต้นไป
แต่ก็ต้องยอมรับโดยไร้เสียงปฏิเสธว่า ช่วงแห่งการปฏิรูปตลาดเสรี โลกาภิวัตน์ และการปรับเปลี่ยนทางเทคโนโลยีได้ทำให้การบริหารจัดการเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่วัดโดยอัตราเงินเฟ้อมีประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
นับถอยหลัง “รัฐบาลประยุทธ์ 2”“วันธงชัย” เป็นฤกษ์ดีในการประกอบพิธีมงคล และ เริ่มต้นสิ่งใหม่ ก็ไม่น่าแปลกใจอะไร ถ้าจะเอาฤกษ์เอาชัย 15 มี.ค. “วันธงชัย” เป็นวันยุบสภา เพราะ “บิ๊กตู่-พล.อ.ประยุทธ์” ก็มีความเชื่อเรื่อง “ฤกษ์พานาที” อยู่แล้ว ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
ไม่รู้เรื่องการตลาดชาติและหมู่ชนจะอับเฉา ฉากที่ 12Japan มีรากศัพท์ที่อ้อมค้อม นักภาษาศาสตร์เชื่อกันว่าส่วนหนึ่งมาจากการบันทึกโทนเสียงภาษาโปรตุเกสพูด ภาษาจีนอู๋ หรือ ภาษาจีนกลางสมัยแรก ญี่ปุ่น (Cipan) หมายถึง “จุดกำเนิดดวงอาทิตย์” (Sun Origin) ค่านิยมนี่ทำให้ใจฮึกเหิมว่าเป็น ลูกพระอาทิตย์... ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
สนามส.ส.ภาคใต้ เดิมพัน ปชป. ยุค“จุรินทร์”สนามส.ส.ภาคใต้ เดิมพัน ปชป. ยุค“จุรินทร์” : สัมภาษณ์พิเศษ นิพนธ์ บุญญามณี รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคใต้ หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3865
อ่านเพิ่มเติม »
ระบบบำนาญพื้นฐานแห่งชาติและการลดความเหลื่อมลํ้าทางสังคมระบบบำนาญพื้นฐานแห่งชาติและการลดความเหลื่อมลํ้าทางสังคม : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย ดร.กติกา ทิพยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,862 หน้า 5 วันที่ 16 - 18 กุมภาพันธ์ 2566
อ่านเพิ่มเติม »
ไม่รู้เรื่องการตลาดชาติและหมู่ชนจะอับเฉา ฉากที่ 10ไลฟ์สไตล์โดยรวมของสังคมยุค 1.0 ทำใจ การล่าสัตว์ และการดำรงอยู่ ในขณะที่กระแสทางด้านการตลาดเริ่มเปิดเกมการค้าแบบลองผิดลองถูก ด้วยความเชื่อที่มโนกันไปเองว่า “สินค้าที่ดี ย่อมมีคนซื้อ!” จึงโหมโรงผลิตกันนัว อาศัยความเชื่อที่ว่า “สินค้า คือ ทุกอย่างของธุรกิจ”
อ่านเพิ่มเติม »