สถานการณ์ “หนี้สินครัวเรือน” 2566 ของไทย น่าห่วง ปัญข้อมูลสำคัญผลกระทบจากโควิดยังสะเทือนถึงปัจจุบัน จับตากลุ่มคนแก่หนี้ท่วมสูง ยอดหนี้เสียพุ่งทะยาน วัดฝีมือรัฐบาล “เศรษฐา” เร่งแก้ปัญหาด่วน
” ของประเทศไทย ยังคงน่ากังวล ด้วยเพราะสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่บอดช้ำสุด ๆ ในช่วง การแพร่ระบาดของโควิด-19 ยังคงส่งผลสะเทือนมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งการจ้างงานและระดับรายได้ของครัวเรือน ส่งผลให้ครัวเรือนขาดสภาพคล่องและมีแนวโน้มที่จะก่อหนี้เพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากหนี้ที่สูงจะทำให้ครัวเรือนมีความสามารถในการใช้จ่ายและลงทุนต่ำ อีกทั้งหากลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ได้ พร้อมกันจำนวนมาก อาจทำให้เกิดความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงิน ซึ่งการแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องทำความเข้าใจถึงพฤติกรรมการก่อหนี้ และกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการการช่วยเหลือ เพื่อกำหนดเป็นมาตรการการแก้ปัญหาที่เหมาะสม และตรงจุด โดยเฉพาะพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในช่วงโควิด-19 ซึ่งยังส่งผลถึงปัญหาหนี้สินในปัจจุบัน ข้อมูลของ บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด...
ขณะที่กลุ่มอายุ 50 - 59 ปีและกลุ่ม 60 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่เป็นหนี้อื่น ๆ หรือสินเชื่อเพื่อการเกษตร สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อเช่าซื้อมอเตอร์ไซค์ และสินเชื่อที่ไม่สามารถจำแนกประเภทได้ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีสัดส่วนดังกล่าวสูงถึง 41.4% ในปี 2562และเพิ่มเป็น 42.
นอกจากนี้หากพิจารณามูลค่าการกู้ซื้อที่อยู่อาศัย พบว่าในช่วงโควิด มีการกู้เงินซื้อที่อยู่อาศัยมูลค่าสูงมากขึ้น โดยการขยายตัวของหนี้ที่อยู่อาศัยในวงเงินมากกว่า 10 ล้านบาท ซึ่งในช่วงโควิด ขยายตัวเฉลี่ยกว่า 11.5% ต่อปี และมีจำนวนบัญชีหนี้ที่อยู่อาศัยในวงเงินดังกล่าวขยายตัวเฉลี่ย 10.8% หรือกล่าวได้ว่ามีการซื้อที่อยู่อาศัยราคามากกว่า 10 ล้านบาทเพิ่มขึ้น
โดยลูกหนี้สินเชื่อส่วนบุคคลเพิ่มขึ้นจาก 10 ล้านคนในปี 2562 เป็น 14.4 ล้านคน ในปี 2563 และ 15.5 ล้านคน ในปี 2565 เช่นเดียวกับ หนี้บัตรเครดิตที่มีมูลค่าขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เพราะเมื่อพิจารณาหนี้เสียจากสัดส่วน NPL ต่อสินเชื่อรวมของหนี้ส่วนบุคคล และหนี้บัตรเครดิตในปี 2565 พบว่า หนี้ส่วนบุคคลในกลุ่มอายุน้อยกว่า 30 ปี NPL ต่อสินเชื่อรวมมีสัดส่วนสูงถึง 12.3% และ อายุ 30 – 39 ปี มีสัดส่วน 11.9% ซึ่งสูงมากเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น ขณะที่หนี้บัตรเครดิตในกลุ่มอายุน้อยกว่า 30 ปี มีสัดส่วนสูงเช่นกัน 10.
2.ต้องมีการกำกับดูแลให้ผู้ให้บริการสินเชื่อดำเนินการตามเกณฑ์การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบและเข้มงวด โดยปัจจุบัน ธปท. ได้มีการจัดทำเกณฑ์การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ ที่จะเป็นแนวทางให้เจ้าหนี้อนุมัติสินเชื่ออย่างมีความรับผิดชอบและเป็นธรรมตลอดช่วงเวลาการเป็นหนี้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
เศรษฐาปลุกใจ 'อย่ายอมให้ใครยับยั้ง' โครงการเงินดิจิทัล'เศรษฐา' โพสต์ปลุกใจ ระบุอย่ายอมให้ใครมายับยั้งโครงการแจกเงินดิจิทัล ชี้ถ้าทำได้จะมีเงินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 560,000 ล้านบาทและเป็นการพัฒนาที่เน้นกระจายไปทุกภาคส่วนของชุมชน
อ่านเพิ่มเติม »
'เศรษฐา'ห่วงแรงงานไทยในอิสราเอลติดอยู่ในพื้นที่รบยังออกมาไม่ได้'เศรษฐา ทวีสิน' รับห่วงแรงงานไทยในอิสราเอล โดยเฉพาะกลุ่มที่ติดอยู่ในพื้นที่สู้รบแต่ยังออกมาไม่ได้ ย้ำให้ประชาชนประเมินและตัดสินการทำงานนายกฯ ลั่นน้อมรับฟังทุกเสียงหนุน-ค้านดิจิทัลวอลเล็ต
อ่านเพิ่มเติม »
เศรษฐกิจ BCG กับการท่องเที่ยว | มิ่งสรรพ์ ขาวสอาดนายกรัฐมนตรีใหม่แกะกล่อง เศรษฐา ทวีสิน ได้เริ่มต้นขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างแข็งขัน โดยเดินทางไปให้กำลังใจภาคท่องเที่ยวทั้งที่ภูเก็ตและเชียงใหม่
อ่านเพิ่มเติม »
“อย่ายอมให้ใครยับยั้ง” แจกเงินดิจิทัล 10000 'เศรษฐา' ปลุกคนต้านกลุ่มค้าน'เศรษฐา ทวีสิน' ปลุกคนเห็นด้วยนโยบาย 'แจกเงินดิจิทัล 10000' ช่วยส่งเสียงสนับสนุน โดยอย่ายอมให้คนที่ไม่เห็นด้วยโดยไม่มีเหตุผลมายับยั้ง
อ่านเพิ่มเติม »