“ปลาหมอคางดำ” สู่น้ำหมักชีวภาพคุณชั้นดี ส่งเสริมการเจริญเติบโตของ “ยางพารา”

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

“ปลาหมอคางดำ” สู่น้ำหมักชีวภาพคุณชั้นดี ส่งเสริมการเจริญเติบโตของ “ยางพารา”
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 63 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 28%
  • Publisher: 63%

น้ำหมักชีวภาพเป็นสารอินทรีย์ที่ได้จากการนำวัสดุอินทรีย์ที่มีความชื้นสูง ทั้งเศษผักผลไม้ และเศษวัสดุ จากสัตว์ เช่น ปลา หรือหอยเชอรี่ มาผ่านกระบวนการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในสภาพที่มีอากาศและ มีอากาศน้อย ซึ่งองค์ประกอบของน้ำหมักชีวภาพที่สำคัญมีทั้ง ฮอร์โมน กรดอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น กรดอะมิโน กรดฮิวมิก รวมทั้งยังมีธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และจุลธาตุ...

น้ำหมักชีวภาพเป็นสารอินทรีย์ที่ได้จากการนำวัสดุอินทรีย์ที่มีความชื้นสูง ทั้งเศษผักผลไม้ และเศษวัสดุ จากสัตว์ เช่น ปลา หรือหอยเชอรี่ มาผ่านกระบวนการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในสภาพที่มีอากาศและ มีอากาศน้อย ซึ่งองค์ประกอบของน้ำหมักชีวภาพที่สำคัญมีทั้ง ฮอร์โมน กรดอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น กรดอะมิโน กรดฮิวมิก รวมทั้งยังมีธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และจุลธาตุ ซึ่งจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งน้ำหมักชีวภาพยังช่วยกระตุ้นการเจริญของจุลินทรีย์ดิน ช่วยทำให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหารในดิน...

นายอธิวัฒน์ สิทธิภิญญาพัฒน์ ผู้อำนวยการกองเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน กล่าวว่า สำหรับยางพาราโดยทั่วไปเกษตรกรจะมีการใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตเป็นหลัก การส่งเสริมให้เกษตรกรใช้น้ำหมักชีวภาพร่วมกับการใช้ปุ๋ยเคมี นอกจากพืชจะได้รับธาตุอาหารหลักที่จำเป็นต่อพืชแล้ว ยังช่วยเพิ่มธาตุอาหารรองและจุลธาตุ ถึงแม้จะเป็นธาตุอาหารที่พืชต้องการในปริมาณน้อย แต่ถ้าพืชขาดธาตุดังกล่าว มีผลต่อการเจริญเติบโต ซึ่งแคลเซียมมีบทบาทที่สำคัญต่อพืชทำให้เซลล์พืชแข็งแรง ส่งเสริมการเจริญของราก และการงอกของเมล็ด สำหรับจุลธาตุ...

กรมพัฒนาที่ดิน มีการส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตน้ำหมักชีวภาพจากปลาหมอคางดำ โดยใช้ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ สารเร่งซุปเปอร์ พด.

นายอธิวัฒน์ สิทธิภิญญาพัฒน์ ผู้อำนวยการกองเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน กล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับเกษตรกรสวนยาง สามารถแก้ปัญหาเปลือกผิวหน้ายางพาราแข็งได้ โดยใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาหมอคางดำ 200 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพจากปลาหมอคางดำ บริเวณเปลือกหรือผิวหน้ายางพารา รอบลำต้นของยางพารา โดยมีความสูง ประมาณ 2 เมตร จากผิวดิน ควรฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพจากปลาหมอคางดำในตอนเช้า เลือกวันที่มีแดดช่วงเวลา ประมาณ 08.00 -10.00 น.

นอกจากนี้ กรมพัฒนาที่ดิน โดยกองเทคโนโลยีชีวภาพทางดินมีคำแนะนำและสูตรในการผลิตน้ำหมักชีวภาพจากปลาหมอคางดำ และจากวัสดุอินทรีย์ต่าง ๆ รวมทั้งสนับสนุนสารเร่งซุปเปอร์ พด.

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

“ซีพีเอฟ”หนุนเดินหน้าจับ“ปลาหมอคางดำ”ในพื้นที่นครศรีธรรมราช-นนทบุรี“ซีพีเอฟ”หนุนเดินหน้าจับ“ปลาหมอคางดำ”ในพื้นที่นครศรีธรรมราช-นนทบุรี“ซีพีเอฟ”หนุนกรมประมงเดินหน้าต่อปฏิบัติจับ “ปลาหมอคางดำ” ในพื้นที่ นครศรีธรรมราช และ นนทบุรี ต่อยอดความร่วมมือกับกรมราชทัณฑ์ นำปลาไปผลิตน้ำปลาและปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อเร่งกำจัดจากทุกพื้นที่
อ่านเพิ่มเติม »

อนุ กมธ.อว.สรุปผลศึกษา 'ปลาหมอคางดำ' ระบาดมีแหล่งที่มาร่วมกันอนุ กมธ.อว.สรุปผลศึกษา 'ปลาหมอคางดำ' ระบาดมีแหล่งที่มาร่วมกันอนุ กมธ.อว.แถลงสรุปผลการศึกษา 'ปลาหมอคางดำ' มีเอกชนรายเดียวขออนุญาตนำเข้า ผลศึกษาบ่งชี้ว่าปลาหมอคางดำที่ระบาดในไทยมีแหล่งที่มาร่วมกัน วันนี้ (25 ก.ย.
อ่านเพิ่มเติม »

ผลศึกษา “ปลาหมอคางดำ”มาจาก 2 แหล่ง ไม่ควรบิดเบือน ผลตรวจ DNAผลศึกษา “ปลาหมอคางดำ”มาจาก 2 แหล่ง ไม่ควรบิดเบือน ผลตรวจ DNAคณะอนุกรรมาธิการแก้ปัญหาปลาหมอคางดำ ที่มี นพ.วาโย อัศวรุ่งเรือง เป็นประธาน ได้สรุปผลการตรวจ DNA ปลาหมอคางดำ ในปี 2560-2564 รวมถึงตัวอย่างปลาที่จับได้จากบ่อพักน้ำของฟาร์มจากบริษัท ที่ถูกมองว่าเป็นต้นเหตุของการแพร่กระจาย
อ่านเพิ่มเติม »

‘รศ.ดร.เจษฎา’ เตือนอย่าเร่งสรุปบริษัทนำเข้า ‘ปลาหมอคางดำ’ ต้นตอแพร่ระบาด‘รศ.ดร.เจษฎา’ เตือนอย่าเร่งสรุปบริษัทนำเข้า ‘ปลาหมอคางดำ’ ต้นตอแพร่ระบาดรศ.ดร.
อ่านเพิ่มเติม »

มากกว่า 1 เดือน...ซีพีเอฟ ร่วมมือกรมประมง ลุยปราบ 'ปลาหมอคางดำ' หลายแห่งปริมาณเบาบางลงมากกว่า 1 เดือน...ซีพีเอฟ ร่วมมือกรมประมง ลุยปราบ 'ปลาหมอคางดำ' หลายแห่งปริมาณเบาบางลงบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)​ หรือ ซีพีเอฟสนับสนุนกรมประมงปราบปลาหมอคางดำอย่างจำนวนปลาหมอคางดำผ่านการดำเนิน 5 โครงการเชิงรุกมามากกว่า 1 เดือนแล้ว มีส่วนช่วยขับเคลื่อนกำจัดปลาหมอคางดำออกจากแหล่งน้ำไปแล้วมากกว่า 1,300,000 กิโลกรัม และยังไม่หยุดระดมความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพื่อกำจัดปลาหมอคางดำออกจากแหล่งน้ำอย่างต่อเนื่อง นายอดิศร์ กฤษณวงศ์...
อ่านเพิ่มเติม »

ฟ้องค่าเสียหาย “ปลาหมอคางดำ” 2,400 ล้านส่อยื้อ-ประกาศเขตภัยพิบัติงานยากฟ้องค่าเสียหาย “ปลาหมอคางดำ” 2,400 ล้านส่อยื้อ-ประกาศเขตภัยพิบัติงานยากประธานสมาคมการประมงฯ ชี้ชาวประมงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและประมงพื้นบ้านสมุทรสงคราม ฟ้องเรียกค่าเสียหายซีพีเอฟ 2,400 ล้าน กรณีปลาหมอคางดำส่อยื้อ ต้องหาพยานหลักฐานชัดเจนมาหักล้าง ขณะจี้รัฐประกาศเขตภัยพิบัตินำเงินฉุกเฉินมาเยียวยา งานยาก
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-17 03:48:03