ไม่แปลกที่ในช่วงหนึ่งของชีวิตเราที่จะต้องพบกับ “ความโดดเดี่ยว” หรือ “ความเหงา” แต่หากปล่อยให้ตัวเองเหงานานเกินไป ความเหงาก็ทำร้ายเราได้เช่นกัน ทั้งด้านสุขภาพจิตและในแง่ความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
นั้น บางคนอาจเข้าใจว่าเป็นเรื่องทั่วไปที่ไม่น่ากังวลอะไร แต่ความจริงแล้วความเหงามีความซับซ้อนมากกว่านั้น โดยแบ่งประเภทได้ดังนี้เป็นความโดดเดี่ยวที่คนคนหนึ่งเริ่มรู้สึกว่ามีความห่างเหินกับคนในครอบครัว เพื่อน หรือสังคมรอบตัว แต่เป็นเพียงความคิดของคนคนนั้นเท่านั้น ในความเป็นจริงคนรอบข้างอาจปฏิบัติตัวตามปกติ แต่อาจมีอะไรบางอย่างมากระตุ้นให้รู้สึกโดดเดี่ยว เช่น นาย ก.
- ไม่อยากออกกำลังกาย เพราะความเหงาและโดดเดี่ยวทำให้ไม่อยากจะทำกิจกรรมอะไรเลย รวมทั้งไม่อยากขยับเขยื้อนร่างกายด้วย - มีปัญหาด้านการนอน เนื่องจากมีความเครียดทำให้รู้สึกหดหู่ สิ้นหวัง เลิกสนใจกิจกรรมที่เคยทำ ทำให้พลังงานลดลง ส่งผลให้นอนไม่หลับ หรือนอนหลับไม่สนิท