“ความยินยอม” ตามร่างกฎหมายลำดับรอง PDPA | สุมาพร (ศรีสุนทร) มานะสันต์

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

“ความยินยอม” ตามร่างกฎหมายลำดับรอง PDPA | สุมาพร (ศรีสุนทร) มานะสันต์
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 ktnewsonline
  • ⏱ Reading Time:
  • 45 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 21%
  • Publisher: 63%

สำนักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลฯ (ทำหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล) เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างกฎหมายลำดับรองภายใต้ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) ซึ่งจะมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 มิ.ย. นี้ อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์

ในครั้งนี้ ได้มีการเปิดรับฟังร่างกฎหมายลำดับรองจำนวน 5 ฉบับ โดย 3 ฉบับได้ปิดรับฟังไปแล้วตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค. 65 ได้แก่ 1) ร่างประกาศ เรื่อง มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผู้ควบคุมข้อมูล

ทั้งนี้ อีกสองฉบับที่ยังคงเปิดรับฟังถึงวันที่ 25 พ.ค.

เพื่อวัตถุประสงค์ในการตลาดให้กับบริษัทในเครือ ซึ่งหากไม่ระบุจะไม่สามารถสมัครสมาชิกได้ กรณีเช่นนี้ ถือว่าไม่ได้ให้ “อิสระในการตัดสินใจ” กับเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจากเป็นการสร้างเงื่อนไขในการให้ความยินยอม กล่าวคือ ชัดแจ้งในที่นี้ หมายถึง ต้องระบุให้ชัดเจนว่าจะนำข้อมูลของเจ้าของข้อมูลไปทำอะไรบ้าง โดยจะใช้วิธีการ bundled consent หรือ รวมหลายวัตถุประสงค์อยู่ในการขอความยินยอมเพียงครั้งเดียวไม่ได้ และในกรณีที่มีการส่งข้อมูลต่อ...

ทั้งนี้ ข้อความการขอความยินยอมต้องมีการแยกส่วนอย่างชัดเจนกับสัญญา ซึ่งหากข้อความการขอความยินยอมถูกนำไปปะปนกับถ้อยคำในข้อตกลงหรือสัญญา ความยินยอมนั้นย่อมไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในประเด็นนี้ จำเป็นต้องพิจารณาควบคู่กับร่างแนวทาง เรื่อง การแจ้งวัตถุประสงค์และรายละเอียดในการเก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล โดยในเรื่องการแจ้งวัตถุประสงค์ให้เจ้าของข้อมูลทราบ สามารถทำได้หลายวิธี

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

ktnewsonline /  🏆 24. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว



Render Time: 2025-04-08 09:31:24