“กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์” เผย 4 ภารกิจหลักในตำแหน่งประธานบอร์ดตลาดหลักทรัพย์ฯ เร่งประสานความร่วมมือสร้างความเชื่อมั่นนักลงทุน
ทั้งการบังคับใช้กฎหมายและคุ้มครองนักลงทุนให้มีความเท่าเทียมกัน การสร้างความโปร่งใสในการประกอบกิจการของบริษัทจดทะเบียน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การสร้างคัมภีร์การลงทุน พร้อมผลักดันตลาดทุนไทยเป็นศูนย์กลางการลงทุนของภูมิภาค
การเงินธนาคาร ได้สัมภาษณ์พิเศษ ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ ประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ ถึงภารกิจสำคัญในวาระที่ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 15 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2567 เป็นต้นไป อย่างไรก็ตาม การขับเคลื่อนทุกเรื่องที่กล่าวมาทั้งหมดจะสำเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือ ข้อคิดเห็น และการสนับสนุนจากท่านกรรมการทุกท่าน ผู้บริหารทุกภาคส่วนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หน่วยงานและองค์กรภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อให้ตลาดทุนไทยเป็นกลไกหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน1.
“การที่บริษัทขนาดเล็กเข้าตลาดหุ้นแล้วสร้างราคาเพื่อทำกำไร แล้วทิ้งหุ้นนั้น พบว่าบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ มีการสร้างราคาหุ้นเป็นจำนวนมาก อาจเป็นเพราะบริษัทมีขนาดเล็ก มีจำนวนหุ้นน้อย มีการสร้างข่าว มีคนเชื่อข่าวลือ หรือการตั้งราคา IPO สูงเกินปัจจัยพื้นฐาน ต่อจากนี้ไปตลาดหลักทรัพย์ฯ จะเปิดเผยข้อมูลหุ้น IPO 10-20 บริษัท ว่าใครเป็นที่ปรึกษาทางการเงินบ้าง เมื่อเข้าตลาดฯ แล้วราคาหุ้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร หรือการเปิดเผยข้อมูลการจัดสรรหุ้นให้กับบุคลที่เกี่ยวโยงกัน...
3.สร้างความเป็นธรรมในตลาดทุนและพัฒนาสร้างโครงสร้างพื้นฐานตลาดทุน โดยตลาดหลักทรัพย์ฯ จะใช้กลไกของข้อมูลปัญญาประดิษฐ์ สำรวจงบดุลของบริษัทจดทะเบียนที่มีความน่าสงสัย เช่น ธุรกิจส่งออก ในขณะที่บริษัทที่ทำธุรกิจเดียวกันประสบภาวะขาดทุน แต่หากมีบริษัทไหนที่มีกำไรขึ้นมาแล้วตรวจสอบพบความน่าสงสัย ระบบจะแจ้งเตือนแก่นักลงทุนถึงความผิดปกติ เป็นเหมือนกับสัญญาณเตือนอันตราย ว่าบริษัทนั้นมีความผิดปกติอย่างไรเพื่อเป็นข้อมูลให้นักลงทุนตัดสินใจ และทำการเรียกผู้ตรวจสอบบัญชีมาสอบถาม โดยอำนาจนี้จะอยู่ที่สำนักงาน ก.ล.ต.
สำหรับเรื่องความเป็นธรรมและความเท่าเทียมในการซื้อขายหุ้น เช่น การทำเน็กเก็ตชอร์ต หรือ การขายหุ้นโดยไม่มีหุ้นในมือ การส่งคำสั่งซื้อขายอัตโนมัติ ตลอดจนนักลงทุนกลุ่ม High-frequency trading หรือผู้เน้นเทรดความเร็วสูง ก็ต้องให้ความสำคัญและมีมาตรการในการดูแลทั้งการป้องกันและปราบปราม ซึ่งเรื่องนี้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ทะยอยออกมาตรการมาอย่างต่อเนื่อง
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
บอร์ดตลาดหลักทรัพย์ฯ มีมติเลือก 'กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์' นั่งประธานกรรมการ ตลท.คนที่ 19คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ มีมติเลือกศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ เป็นประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ คนที่ 19 รายงานข่าวแจ้งว่า ในการประชุมคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) วันนี้ ได้มีมติเลือกศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ ให้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ คนที่ 19 แทนนายพิชัย ชุณหวชิร...
อ่านเพิ่มเติม »
'กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์' ประธานกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์ฯ คนที่ 19คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯมีมติเลือก 'ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์' ดำรงตำแหน่ง 'ประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ คนที่ 19' แทน 'พิชัย ชุณหวชิร' ที่ลาออกไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
อ่านเพิ่มเติม »
ด่วน 'กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์' ผงาดนั่งประธานบอร์ดตลาดหลักทรัพย์คนที่ 19คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ มีมติเลือกศาสตราจารย์พิเศษ 'กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์' ขึ้นนั่งเก้าอี้ประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ คนที่ 19 แทนนายพิชัย ชุณหวชิร
อ่านเพิ่มเติม »
ถูกคน-ถูกที่-ถูกเวลา “กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์” นั่งประธานบอร์ดตลาดหุ้นการประกาศชื่อ “กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์” ให้เข้ามานั่งเป็นประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือประธานบอร์ด ตลท.
อ่านเพิ่มเติม »
บอร์ด ตลท. เลือก “กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์” นั่งประธานกรรมการคนที่ 19PPTVHD36 World Class TV ละครกลับไปสู่วันฝัน รายการวาไรตี้ The Voice 2019 เกมพันหน้า กิ๊กดู๋ สงครามเพลงเงินล้าน ถ่ายทอดสดพรีเมียร์ลีก และการแข่งขัน MotoGP 2019 ทันทุกสถานการณ์ข่าว เกาะติดดาราไทย และต่างประเทศ สุดมันกับซีรีส์ และภาพยนต์ระดับโลก
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดมุมมองจากหลากกูรู สู่เส้นทางเป็นสุดยอด ‘ครีเอเตอร์’ ที่โตไกลระดับโลกAIS ควงพาร์ทเนอร์ ผนึกพันธมิตร จัดเวทีเสวนา ‘Global Creator Culture Summit’ ชู ครีเอเตอร์ไทย ผู้นำการเปลี่ยนแปลงบริบทการสื่อสารระดับโลก พร้อมเปิดสูตรเด็ด เคล็ดลับ ต่อยอด อาชีพครีเอเตอร์ สู่ผู้ประกอบการให้เติบโตอย่างยั่งยืน
อ่านเพิ่มเติม »