หลังจากที่ “กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล” ประสบปัญหาเกี่ยวกับอุปกรณ์ไจโรสโคปตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ตอนนี้ทีมวิศวกรจากภาคพื้นโลกสามารถทำให้กล้องกลับมาปฏิบัติภารกิจทางวิทยาศาสตร์ได้แล้ว
ทีมวิศวกรภาคพื้นของ NASA ได้ร่วมกันแก้ปัญหาเพื่อให้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลสามารถกลับมาทำงานได้ตามปกติอีกครั้งแล้ว หลังจากที่เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลแจ้งเตือนความผิดพลาดและเข้าสู่สถานะพักการทำงานเนื่องจากตัวกล้องพบปัญหาความเสื่อมสภาพของระบบไจโรสโคปอีกครั้ง นับตั้งแต่เหตุการณ์ครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 23 เมษายนปีนี้
การซ่อมบำรุงของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลครั้งสุดท้ายคือเมื่อปี 2009 ดังนั้นชิ้นส่วนที่อยู่ภายในกล้องโทรทรรศน์อวกาศไม่ได้รับการซ่อมบำรุงมาแล้วร่วม 15 ปี ดังนั้นในตอนนี้ชิ้นส่วนที่ถูกใช้งานหนักอย่างไจโรสโคปจึงค่อย ๆ เสื่อมสภาพไปทีละตัว กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลมีไจโรสโคปภายในตัวทั้งหมด 6 ตัว เปิดใช้งานคราวละ 3 ตัว และอีก 3 ตัวเป็นไจโรสโคปสำรอง แต่ระยะเวลาผ่านมาทั้งหมด 15 ปีแล้ว ไจโรสโคปภายในก็เสียทีละตัว จนเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่าน...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“กล้องฯ ไอน์สไตน์โพรบ” กล้องโทรทรรศน์ตากั้ง ความร่วมมือทางอวกาศระหว่างยุโรปและจีนกล้องโทรทรรศน์อวกาศไอน์สไตน์โพรบ (Einstein Probe Space Telescope) กล้องโทรทรรศน์อวกาศรังสีเอ็กซ์มุมกว้างที่มีการออกแบบคล้ายตากั้ง พร้อมส่งภาพถ่ายแรกกลับมา แสดงให้เห็นถึงความพร้อมในการใช้งานตรวจจับเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงของจักรวาลผ่านรังสีเอ็กซ์
อ่านเพิ่มเติม »
ครบรอบ 34 ปี กล้องฮับเบิล NASA เผยภาพเนบิวลา Little Dumbbell อันงดงาม การันตีประสิทธิภาพแม้เวลาจะผ่านมาเนิ่นนานหลายสิบปีในวาระครบรอบ 34 ปี กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล NASA ได้มีการเผยภาพ “เนบิวลา Little Dumbbell” อันงดงาม การันตีประสิทธิภาพกล้องฮับเบิล ที่ยังคงถ่ายภาพได้ยอดเยี่ยมแม้เวลาจะผ่านมาเนิ่นนานหลายสิบปี
อ่านเพิ่มเติม »
กล้องฯ Event Horizon เผยภาพสนามแม่เหล็กรอบหลุมดำใจกลางทางช้างเผือกกล้องโทรทรรศน์อีเวนต์ฮอไรซัน (Event Horizon) เผยภาพสนามแม่เหล็กรอบหลุมดำ Sagittarius A* ซึ่งคล้ายกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับหลุมดำ M87 แสดงให้เห็นว่าสนามแม่เหล็กความเข้มสูงสามารถเกิดขึ้นล้อมรอบหลุมดำได้ทุกดวง
อ่านเพิ่มเติม »
“กล้องฯ ยูคลิด” (Euclid) เผยภาพ “กลุ่มกาแล็กซี” สุดตื่นตาเปิดภาพจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศยูคลิด (Euclid) กับภารกิจศึกษาความลับของสสารและพลังงานมืด (dark matter/dark energy) ซึ่งเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นและเชื่อกันว่า เป็นองค์ประกอบ 95% ของจักรวาล
อ่านเพิ่มเติม »
“กล้องฯ ฮับเบิล” พบการระเบิดแปลกประหลาดกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลตรวจพบแสงจากการระเบิดแบบที่ไม่เคยเจอมาก่อน ลักษณะคล้ายกับซูเปอร์โนวา แต่ยังไม่สามารถอธิบายได้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) พบการระเบิดแปลกประหลาดที่ไม่เคยเจอมาก่อนเรียกว่า “Luminous Fast Blue Optical Transient (LFBOT)” ซึ่งปกติจะเกิดในกาแล็กซีบริเวณที่มีดาวฤกษ์เกิดใหม่เป็นจำนวนมาก แต่ในครั้งนี้ LFBOT เกิดขึ้นห่างจากกาแล็กซีอย่างมาก นับเป็นอะไรที่นักดาราศาสตร์ไม่เคยพบเห็นมาก่อน LFBOT 1Luminous Fast Blue Optical Transient หรือ LFBOT เป็นการกำเนิดของ
อ่านเพิ่มเติม »