นักวิจัย พบว่า “ไฟฟ้าเคมี” (Electrochemistry) เป็นหนึ่งในวิธีที่สามารถสลายคาร์บอนกับกรดในมหาสมุทรได้ดีที่สุด ทั้งประหยัด ปรับขนาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ก่อนหน้านี้นักวิทยาศาสตร์ค้นพบวิธีที่สามารถปรับสมดุลค่าความเป็นกรดด่าง ของ มหาสมุทร ได้โดยการเพิ่มความเป็นด่างใน มหาสมุทร ได้ ด้วยการเพิ่มแร่อัลคาไลที่บดละเอียดลงใน มหาสมุทร เพื่อลดความเป็นกรดของน้ำโดยตรง แต่กระบวนการเหล่านี้จะต้องใช้ทรัพยากรจำนวนมากและต้องทำอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ประมาณการว่าจะต้องเติมสารอัลคาไลน์ในปริมาณเท่ากับตึก Empire State 8,000 ตึก ลงใน มหาสมุทร ทุกปี...
อีกทั้งการพัฒนาระบบ BMED ที่คุ้มค่า ช่วยเปิดเส้นทางสู่ OAE ที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจอีกด้วย นอกจากนี้ นักวิจัยกำลังพัฒนาวิธีการรวม BMED เข้ากับเทคโนโลยีการฟื้นฟูมหาสมุทรอื่น ๆ เช่น การดักจับและกักเก็บคาร์บอน เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีบริษัทสตาร์ทอัพที่มีเป้าหมายในการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในมหาสมุทรผ่าน OAE เกิดขึ้นหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น Ebb Carbon, SeaO2 และ Vesta ซึ่งงานวิจัยนี้ได้สนับสนุนให้มีการสื่อสารอย่างเปิดเผยเกี่ยวกับความก้าวหน้าและความท้าทายที่ OAE เผชิญอยู่กับสาธารณะ สถาบันวิจัย รัฐบาล และภาคเอกชน เพื่อเร่งรัดการแก้ปัญหาความท้าทายของ OAE
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการประเมินผลกระทบของการปรับความเป็นด่างของน้ำทะเลต่อระบบนิเวศทางทะเล ขณะเดียวกันก็พัฒนาและดำเนินการระบบที่เชื่อถือได้เพื่อวัดผล รายงาน และตรวจสอบปริมาณสุทธิของความเป็นกรดและคาร์บอนที่ถูกกำจัดออกไป นอกจากนี้ ยังต้องระบุตำแหน่งการติดตั้งใช้งานขนาดใหญ่ที่เหมาะสมที่สุดซึ่ง OAE สามารถนำไปใช้ได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โดยข้อควรพิจารณาเหล่านี้กำลังได้รับการวิจัยโดยกลุ่มต่าง ๆ แต่จำเป็นต้องมีการสนับสนุนเพิ่มเติมอีกมากเพื่อตรวจสอบและปรับขนาดเทคโนโลยีนี้อย่างรวดเร็ว
ก๊าซเรือนกระจก ภาวะโลกร้อน ก๊าซคาร์บอน Sustainability มหาสมุทร สภาพอากาศสุดขั้ว ไฟฟ้าเคมี กรดในทะเล
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สังศิต จุดประกาย “กาสิโนถูกกฎหมาย” ดีไซน์ เงินบาป สู่ รัฐสวัสดิการรศ.สังศิต พิริยะรังสรรค์ นักวิจัย 'กาสิโนถูกกฎหมาย' ในประเทศไทย เปิดใจ ไม่ได้เชียร์-ไม่ได้ต่อต้าน เป็นเพียง 'จุดประกาย'
อ่านเพิ่มเติม »
มช. นำผลงานนวัตกรรม บินลัดฟ้าคว้ารางวัลสูงสุด Grand Prizeมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำสุดยอด https://youtu.be/d4lrAsAuxto?si=eoRcBihvJTvkTWQe ผลงานสิ่งประดิษฐ์ของประเทศไทย โดย CMU STeP พาอาจารย์/นักวิจัย มช.
อ่านเพิ่มเติม »
ชมคลิป ปะการัง “เกรทแบร์ริเออร์รีฟ” เริ่มวางไข่สร้างรุ่นต่อไปนักวิจัย เผยแพร่ภาพการวางไข่ของปะการังประจำปี บริเวณแนวปะการังมัวร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในแนวปะการังเกรทแบร์ริเออร์รีฟ ชั้นนอก ของประเทศออสเตรเลีย เพื่อทำการวิเคราะห์ปะการังรุ่นต่อไป
อ่านเพิ่มเติม »
ผุดหลักสูตรป.โทตอบรับดิจิทัลเทรนด์การแพทย์และสาธารณสุขราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ผุดหลักสูตรป.โทตอบรับดิจิทัลเทรนด์ทางการแพทย์และสาธารณสุข รองรับตำแหน่งงานสำคัญในอนาคต ระบุต่อยอดทางวิชาชีพหลากหลายทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ นักวิจัย อ
อ่านเพิ่มเติม »
โลกร้อนทำ 'เอเวอเรสต์' ปีนยากขึ้น พรากชีวิตนักปีนเขามากเป็นประวัติการณ์ภาวะโลกร้อน และ Climate Change ทำ 'เอเวอเรสต์' สะเทือน ปีนเขายากขึ้นเพราะธารน้ำแข็งละลาย พรากชีวิตนักปีนเขาเยอะเป็นประวัติการณ์
อ่านเพิ่มเติม »
Tag: โนเบลนักวิจัย 2 คนที่ศึกษาค้นคว้าเรื่องการดัดแปลงนิวคลีโอไซด์ อันนำมาซึ่งการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) ร่วมกันคว้ารางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ประจำปี 2566
อ่านเพิ่มเติม »