“สุพัฒนพงษ์” ชูผลงานเศรษฐกิจ ฝ่าวิกฤต ดึงลงทุน พร้อมส่งมอบเศรษฐกิจที่เติบโตมีเสถียรภาพและการเงินการคลังไม่ได้รับกระทบจากโควิด-19 มากนักให้รัฐบาลต่อไปบริหารประเทศ แย้มชงมาตรการ EV 3.5 เข้า ครม.ดันลงทุนต่อปี 67-68 กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
โดยที่ผ่านมายอดขอรับการส่งเสริมการลงทุนปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากในช่วงเกิดวิกฤตโควิดที่มีมูลค่า 4.
ทั้งนี้เนื่องจากมาตรการ EV3 จะสิ้นสุดอายุมาตรการในปี 2566 ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และรัฐบาลมั่นใจว่าในปี 2030 หรืออีกประมาณ 7-8 ปีข้างหน้าไทยจะมีการผลิตรถ EV ประมาณ 7.5 แสนคันต่อปี ซึ่งขณะนี้มีค่ายรถอีกหลายค่ายที่สนใจที่จะเข้ามาลงทุนแต่สมัครเข้าร่วมขอรับการส่งเสริมตามแพคเกจ EV 3 ไม่ทัน รัฐบาลจึงพิจารณาชุดมาตรการใหม่ เพื่อให้ค่ายรถที่สนใจเข้ามาสมัครโดยเรียกว่ามาตรการEV 3.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
เฮ 'สุพัฒนพงษ์' ประกาศไม่ขึ้นค่าไฟฟ้างวดหน้ารองนายกรัฐมนตรี “สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์” ประกาศค่าไฟฟ้างวดหน้า เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2566 ไม่ปรับขึ้น พร้อมเหลืออัตราเดียวทั้งครัวเรือน-อุตสาหกรรม ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
กาง 5 ผลงานรัฐบาลกู้เศรษฐกิจ ก่อนส่งไม้ต่อ-สู้ศึกเลือกตั้งรองนายกฯ เศรษฐกิจ “สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์” กาง 5 ผลงานรัฐบาลกู้เศรษฐกิจประเทศ ประกาศพ้นปากเหวเรียบร้อย พร้อมส่งไม้ต่อรัฐบาลต่อไป สู้ศึกเลือกตั้ง ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
ศก.โลกชะลอตัวทุบส่งออก ดันท่องเที่ยววาระแห่งชาติ“สุพัฒนพงษ์” รับเศรษฐกิจโลกชะลอ ทุบส่งออกไทยอ่วม “สภาพัฒน์” ชี้ปีนี้มีโอกาสโตติดลบ หวังท่องเที่ยว-ลงทุนช่วยหนุน
อ่านเพิ่มเติม »
'สุพัฒนพงษ์' ชี้เศรษฐกิจโลกชะลอทุบส่งออกอ่วม“สุพัฒนพงษ์” รับเศรษฐกิจโลกชะลอ ทุบส่งออกไทยอ่วม “สภาพัฒน์” ชี้ปีนี้มีโอกาสโตติดลบ หวังท่องเที่ยว-ลงทุนช่วยหนุน เศรษฐกิจปี 2566 โตได้ตามเป้าหมายที่ 3.2% ด้าน “อาคม” ยันฐานะการคลังประเทศยังแข็งแกร่ง ทุนสำรอง 2 แสนล้านบาท พร้อมเล็งออกมาตรการภาษีหนุนจ้างงานผู้สูงอายุ
อ่านเพิ่มเติม »
สุพัฒนพงษ์ แย้มไม่ขึ้นค่าไฟฟ้างวดใหม่ ครัวเรือน-อุตสาหกรรมใช้อัตราเดียว : อินโฟเควสท์นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.พลังงาน เผยแนวโน้มค่าไฟฟ้ารอบเดือน พ.ค.-ส.ค.66 ว่า รอบนี้น่าจะเหลืออัตราเดียวทั้งภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม จากเดิมที่ใช้ค่าไฟฟ้า 2 อัตรา คือค่าไฟสำหรับครัวเรือนอยู่ที่ 4.72 บาทต่อหน่วย และค่าไฟของภาคอุตสาหกรรม 5.33 บาทต่อหน่วย โดยการปรับลดลงของภาคอุตสาหกรรมมาเท่ากับภาคครัวเรือนนั้น เป็นไปตามแนวนโยบายที่ต้องช่วยดูแลผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกถดถอย ที่ทำให้ภาคการส่งออกได้รับผลกระทบ ส่วนค่าไฟฟ้าของภาคครัวเรือนซึ่งอยู่ที่ 4.72 บาทต่อหน่วยในงวดนี้ ในฐานะผู้กำกับนโยบายก็ได้ให้นโยบายกับหน่วยงานที่จัดทำค่าไฟฟ้า คือคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ไปแล้วว่าไม่ควรที่จะปรับเพิ่มขึ้น เนื่องจากต้นทุนการผลิตไฟฟ้าคือก๊าซธรรมชาติมีแนวโน้มลดลงในช่วงที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ในส่วนของค่าไฟฟ้าผันแปรอัตโนมัติ (Ft) ปรับเพิ่มเป็น 98 สตางค์ต่อหน่วย ซึ่งเมื่อรวมค่าไฟฐานแล้ว ทำให้ค่าไฟจะปรับเพิ่มขึ้นเป็น 4.75 บาทต่อหน่วย หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 0.3 บาทต่อหน่วยนั้น ในส่วนนี้มองว่าฝ่ายนโยบายสามารถดูแลได้ โดยตอนนี้ภาระสำคัญที่ต้องดูไม่ให้เกิดผลกระทบกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ที่ต้องได้รับการชดเชยจากการแบกรับค่า Ft เมื่อปีที่ผ่านมากว่าแสนล้านบาท ซึ่งก็ต้องดูว่าจะชดเชยกลับคืนให้ กฟผ.ได้อย่างไร “ราคาค่าไฟในงวดหน้า ในฐานะผู้กำกับนโยบาย ได้ให้นโยบายไปแล้วว่าค่าไฟฟ้าไม่ควรที่จะปรับขึ้น ราคาค่าไฟก็จะกลับมาใช้อัตราเดียวเท่ากันระหว่างภาคครัวเรือนและอุตสาหกรรม ซึ่งต้องดูแลทั้ง 2 […]
อ่านเพิ่มเติม »
'สุพัฒนพงษ์' ลั่นค่าไฟงวดใหม่ต้องเหลืออัตราเดียวและถูกกว่าเดิม'สุพัฒนพงษ์' ลั่นค่าไฟงวดใหม่ ไม่ปรับขึ้น พร้อมหาแนวทางลดเหลืออัตราเดียว ตัดพ้อการส่งออกของประเทศไม่ดี กฟผ.อุ้มหนี้อีกแสนล้าน กกพ. เผยตามมติ กพช. คุมค่าไฟ งวดพ.ค.-ส.ค.ต่ำกว่า 5 บาทแน่นอน
อ่านเพิ่มเติม »