ความเสี่ยงด้านคอร์รัปชันและการเรียกรับสินบนเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยง ที่บริษัทข้ามชาติพิจารณาในการตัดสินใจเลือกลงทุนหรือเข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย
นอกจากนี้ยังพบด้วยว่า ไทยยังต้องการการสนับสนุนจากต่างประเทศเพื่อรวบรวมหลักฐานและตรวจสอบเส้นทางการเงินคดี สินบน ข้ามชาติ และติดตามยึดทรัพย์สินจากคดีทุจริตที่ถูกโอนถ่ายไปต่างประเทศกลับมาไทย
ดังนั้น การได้รับการประสานข้อมูลธุรกรรมการเงินในคดีทุจริตและสินบนข้ามชาติจากประเทศภาคีกรอบความร่วมมือ IPEF เสา 4 จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานปราบปรามทุจริตและการฟอกเงินของไทยอย่างมาก โดยรวมแล้ว กรอบความร่วมมือ IPEF เสา 4 “เศรษฐกิจที่เป็นธรรม” จะสร้างโอกาสและแรงสนับสนุนให้ไทยได้เร่งตรวจจับการทุจริตและสินบนข้ามชาติที่เป็นปัญหาเรื้อรังซึ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการประกอบธุรกิจและลงทุนในประเทศไทย และช่วยให้ไทยปรับปรุงกฎหมายและมาตรการจัดเก็บภาษีธุรกิจให้โปร่งใสและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ฟอกเงิน ทุนต่างชาติ สินบน TDRI ภาษีเงินได้ ต่อต้านการทุจริต ปฏิรูปภาษี วาระทีดีอาร์ไอ คอลัมนิสต์ IPEF คอร์รัปชัน ธิปไตร แสละวงศ์ สินบนข้ามชาติ เศรษฐกิจที่เป็นธรรม
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
IPEF Pillar II กับความยืดหยุ่นของซัพพลายเชนของไทยภายใต้บริบทภูมิรัฐศาสตร์ ส่งผลให้การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศมีความอ่อนไหวมากขึ้น สหรัฐอเมริกาได้ริเริ่มจัดตั้งกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก (IPEF) ในปี 2565 เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า...
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดผลสำรวจคนไทย 1 ใน 3 ยังต้องการรับ “วัคซีนโควิด-19” หากมีบริการฟรีTHOHUN เปิดผลสำรวจประชาชนคนไทยกว่า 1 ใน 3 ต้องการวัคซีนโควิด-19 หากมีบริการฟรี ส่วนใหญ่เห็นว่ายังจำเป็นสำหรับกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และกลุ่มเสี่ยง 608
อ่านเพิ่มเติม »
IPEF Pillar II กับความยืดหยุ่นของซัพพลายเชนของไทยภายใต้บริบทภูมิรัฐศาสตร์ ส่งผลให้การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศมีความอ่อนไหวมากขึ้น สหรัฐอเมริกาได้ริเริ่มจัดตั้งกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก (IPEF) ในปี 2565 เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้า...
อ่านเพิ่มเติม »
'หมอยง' เตือน! 'RSV' เป็นแล้วเป็นอีกได้ แนะการดูแลรักษาวันที่ 31 ส.ค.67 นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Yong Poovorawan ระบุว่า...
อ่านเพิ่มเติม »
IPEF คืออะไร? สำคัญต่อไทยอย่างไร ภายใต้โลกแบ่งขั้วIPEF ไม่ใช่ความร่วมมือทางเศรษฐกิจทั่วไปที่มีเป้าหมายหลักในการลดภาษีนำเข้าสินค้าหรือส่งเสริมการค้าเสรีระหว่างกันแบบเดียวกับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอื่นๆ เช่น RCEP หรือ CPTPP แต่ว่า IPEF มีเป้าหมายหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจผ่านการอำนวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน รวมทั้งเพิ่มช่องทางให้สหรัฐฯ...
อ่านเพิ่มเติม »
มาริษลงนามข้อตกลงยกระดับการค้า-การลงทุนในอินโด-แปซิฟิก หนุนความร่วมมือภูมิภาคต่างๆมาริษ เสงี่ยมพงษ์ เปิดเผยผ่าน X ถึงการเข้าร่วมการประชุมระดับรัฐมนตรีกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก หรือ Indo-Pacific Economic Framework หรือ IPEF
อ่านเพิ่มเติม »