Greenwashing หรือ การฟอกเขียว เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจอย่างหนึ่งที่เป็นการสร้างภาพลักษณ์ให้กับบริษัทนั้น ๆ ในการผลิตสินค้าหรือบริการที่ดูเหมือนว่า จะเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่แท้จริงแล้วอาจจะหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ Greenwashing
เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจอย่างหนึ่งที่เป็นการสร้างภาพลักษณ์ให้กับบริษัทนั้น ๆ ในการผลิตสินค้าหรือบริการที่ดูเหมือนว่า จะเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่แท้จริงแล้วอาจจะหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ เริ่มต้นมาจากโรงแรมแห่งหนึ่ง ที่วางป้ายในห้องน้ำในห้องพักของแขก เพื่อขอให้แขกผู้เข้าพักใช้ผ้าเช็ดตัวซ้ำเพื่อประหยัดน้ำ ซึ่งเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แต่ว่าเจตนาที่แท้จริงของโรงแรมก็คือ ต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านซักรีด...
โดยผู้ผลิตมักใช้จิตวิทยาการสื่อสาร เพื่อถ่ายทอดข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดว่าแบรนด์ของตนนั้น เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แต่ไม่ได้มีการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง บ่อยครั้งที่สินค้าเหล่านี้มักให้ข้อมูลไม่เพียงพอ ทั้งในเรื่องของกระบวนการผลิตและวัตถุดิบที่ใช้ สิ่งที่เรามักพบบ่อยที่สุดคือ การระบุว่าใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติ ปราศจากสารเคมีอันตราย ระบุอยู่หน้าผลิตภัณฑ์เพื่อดึงดูดผู้บริโภค แต่กลับไม่ได้ระบุว่าใช้สารใดและใช้ปริมาณเท่าใด
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
จีนมุ่งพัฒนาสู่ความทันสมัยเพื่อประโยชน์ของโลกจีนมุ่งพัฒนาสู่ความทันสมัยเพื่อประโยชน์ของโลก : คอลัมน์ลวดลายมังกร โดย...พลโท ดร.ไชยสิทธิ์ ตันตยกุล หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3888
อ่านเพิ่มเติม »
จีนทำอย่างไรเพื่อนำความกระชุ่มกระชวยกลับสู่พื้นที่ชนบท (จบ)ปัจจุบัน อู๋วเจียงไจ้ ได้กลายเป็นจุดหมายปลายทางที่รับผิดชอบต่อสังคมและขับเคลื่อนนโยบาย “การสร้างความกระชุ่มกระชวย” และแคมเปญ “ความเจริญรุ่งเรืองร่วมกัน” ผ่านการท่องเที่ยว....ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »
ChatGPT for EconomistsGenerative AI หรือ AI ที่สามารถสร้าง content ขึ้นมาใหม่ได้เอง ไม่ว่าจะเป็น text รูปภาพ โดยเรียนรู้จาก pattern ของข้อมูลที่ได้เคยถูกป้อนเข้าไป ได้สร้างความฮือฮาไม่น้อยในช่วงเวลาที่ผ่านมา และ Generative AI ตัวที่เป็นที่พูดถึงมากที่สุดตอนนี้คือ ChatGPT ....
อ่านเพิ่มเติม »
จีนทำอย่างไรเพื่อนำความกระชุ่มกระชวยกลับสู่พื้นที่ชนบท (2)จีนทำอย่างไรเพื่อนำความกระชุ่มกระชวยกลับสู่พื้นที่ชนบท (2) : คอลัมน์มังกรกระพือปีก โดย...ดร.ไพจิตร วิบูลย์ธนสาร รองประธานและเลขาธิการหอการค้าไทยในจีน หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3487
อ่านเพิ่มเติม »
จีนทำอย่างไรเพื่อนำความกระชุ่มกระชวยกลับสู่พื้นที่ชนบท (1)นโยบาย “สร้างความกระชุ่มกระชวย” ให้กับพื้นที่ชนบท จีนมุ่งหวังให้นโยบายใหม่นี้ เป็นหนึ่งในกลไกในการขยายเศรษฐกิจและคนชั้นกลางในอนาคต อย่างไรก็ดี วันนี้ผมไม่อยากหยุดแค่เพียงแนวคิด แต่เราจะไปดูกันว่าจีนทำ “ความฝัน” ให้เกิดเป็นรูปธรรมได้อย่างไรกัน ...
อ่านเพิ่มเติม »
เศรษฐศาสตร์กับช่วงโค้งสุดท้ายก่อนการเลือกตั้งเศรษฐศาสตร์กับช่วงโค้งสุดท้ายก่อนการเลือกตั้ง : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย รศ.ดร.ธันยพร จันทร์กระจ่าง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,886 หน้า 5 วันที่ 11 - 13 พฤษภาคม 2566
อ่านเพิ่มเติม »