finbiz by ttb ชี้ ESG ไม่ได้เป็นเพียงกระแส แต่เป็นสิ่งที่ธุรกิจต้องทำ เพื่อให้โลกอยู่ได้อย่างยั่งยืน ธุรกิจสามารถดำเนินต่อได้ในอนาคต ฐานเศรษฐกิจ
แรงหนุนที่ทำให้ธุรกิจต้องรีบพัฒนาองค์กรตามแนวคิด ESG ไม่ใช่เพียงเพราะว่า ธุรกิจเป็นส่วนหลักในการสนับสนุนโลกให้ยั่งยืนเท่านั้น แต่ยังมีแรงหนุนอื่น ๆ ทำให้ธุรกิจตั้งแต่ขนาดใหญ่ไปจนถึง SME ต้องสนใจ จำเป็นต้องเข้าถึง และใช้แนวคิด ESG ในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่การคาดหวังว่าธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดอุณหภูมิโลกให้อยู่ในระดับที่ต่ำกว่า 1.5 องศาเซลเซียสให้ได้ โดยเป็นการคาดหวังของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับธุรกิจ ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ธุรกิจต้องให้ความสำคัญเช่น พ.ร.บ.
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาษีคาร์บอน คาร์บอนเครดิต ถ้าธุรกิจมีการปล่อยคาร์บอนสูง ในอนาคตสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้คือ การจ่ายชดเชยในสิ่งแวดล้อมที่เสียหายไปจากการทำธุรกิจ ในรูปของภาษีคาร์บอน เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลให้ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้นปัจจุบันมีการพูดถึงเรื่องความเหลื่อมล้ำ สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติต่อทุกคนโดยเท่าเทียมมากขึ้น โดยเฉพาะคน Gen Z แรงงานกลุ่มใหญ่ที่เริ่มเข้ามาสู่องค์กรให้ความสำคัญในด้านนี้ โดยเฉพาะกลุ่มพนักงานระดับ Talent...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สรรพสามิต ทำลายบุหรี่หนีภาษี 638,519 ซองแบบ Zero Waste ไม่กระทบสิ่งแวดล้อมกรมสรรพสามิตเดินหน้ายุทธศาสตร์ EASE Excise เน้น ESG ทั้งระบบ ทำลายบุหรี่หนีภาษีของกลาง 638,519 ซอง มูลค่า 130 ล้าน ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจไทยรัฐออนไลน์ ไทยรัฐออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
ฟอร์จูนไชน่าจัดอันดับไฮเซ่นส์ขึ้นแท่นบริษัททรงอิทธิพลด้าน ESG ประจำปี 66 : อินโฟเควสท์ไฮเซ่นส์ (Hisense) ติดอันดับหนึ่งในบริษัททรงอิทธิพลด้าน ESG โดยฟอร์จูน ไชน่า (Fortune China’s ESG Influential Listing) ด้วยผลงานในการสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี การผลิต และห่วงโซ่อุปทาน บริษัทที่ได้รับเลือกให้ติดอันดับดังกล่าวต้องแสดงให้เห็นถึงความพยายามอย่างเด่นชัดในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ปกป้องพนักงาน และสนับสนุนชุมชน รวมทั้งกำลังสำรวจเส้นทางส่งเสริมการเติบโตที่ยั่งยืนและครอบคลุมทั่วถึง สำหรับไฮเซ่นส์นั้น บริษัทให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ผ่านการสนับสนุนกลยุทธ์ “คาร์บอนคู่ขนาน” หรือ Dual Carbon ของจีน) และตระหนักถึงความสำคัญของความพยายามในระดับโลกไม่ใช่แค่ในภูมิภาคเอเชีย เพื่อประโยชน์ของประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก รายงานการจัดอันดับผู้ทรงอิทธิพลด้าน ESG ประจำปี 2566 โดยฟอร์จูน ไชน่า ระบุว่า ในปีนี้ ไฮเซ่นส์ได้รับการยกย่องเป็นพิเศษจากการนำระบบอาคารของจีนที่ประกอบด้วย เซลล์แสงอาทิตย์ ระบบกักเก็บพลังงาน ไฟฟ้ากระแสตรง และความยืดหยุ่น (Solar photovoltaic, Energy storage, Direct current and Flexibility หรือ PEDF) มาใช้สร้างสรรค์ระบบปรับอากาศส่วนกลางเทคโนโลยีขั้นสูงที่บริษัทพัฒนาขึ้นเอง ซึ่งความก้าวหน้านี้ช่วยเปลี่ยนระบบปรับอากาศที่กินไฟมากให้กลายเป็นสถานีถ่ายโอนระบบพลังงานแบบกระจาย […]
อ่านเพิ่มเติม »
เฟดขึ้นดบ. 0.25% ตามคาด ttb analytics ชี้ ประชุม กนง.พ.ค.ไทยน่าจะปรับขึ้นอีก 0.25%เฟดขึ้นดบ. 0.25% ตามคาด ttb analytics ชี้ ประชุม กนง.พ.ค.ไทยน่าจะปรับขึ้นอีก 0.25% via MatichonOnline มติชนออนไลน์ ดอกเบี้ยนโยบาย
อ่านเพิ่มเติม »
ไทยติด ‘ท็อป3’ ผู้บริหารมุ่งธุรกิจสู่ความยั่งยืน - จับตา 'ฟอกเขียว' ระบาด !!“กูเกิล” เผยผลสำรวจระดับโลก ระบุไทยติดท็อป 3 ประเทศที่ผู้บริหารให้ความสำคัญด้านความยั่งยืน ชี้ ESG คือกลไกสำคัญขับเคลื่อนอนาคตองค์กร แนะปรับโครงสร้าง ดึงเครื่องมือเทคโนโลยียุคใหม่อย่าง 'คลาวด์ เอไอ แมชชีนเลิร์นนิง' เพิ่มความสำเร็จไปสู่จุดหมายได้เร็วขึ้น
อ่านเพิ่มเติม »
จ่อชง 'ภาษีไบโอเอทานอล' หวังลดคาร์บอนไดออกไซด์นายเกรียงไกร พัฒนาภรณ์ รองอธิบดีกรมสรรพสามิต เปิดเผยว่า ตามที่กรมสรรพสามิต ได้วางกลยุทธ์การบริหารงานของกรมในปี 2566 ด้วยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วยภาษีสรรพสามิตที่เน้น ESG (สิ่งแว
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต. ปรับปรุงแนวทางเปิดเผยข้อมูล REITs ด้าน ESG สร้างคุณค่าอย่างยั่งยืน : อินโฟเควสท์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) มองว่าการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการลงทุนที่รับผิดชอบเป็นเป้าหมายหลักที่องค์การสหประชาชาติและทั่วโลกให้ความสำคัญ และกำหนดให้เป็นนโยบายเชิงวิสัยทัศน์หลักของแต่ละประเทศ ภาคธุรกิจซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาและเติบโตทางเศรษฐกิจจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องมีบทบาทในการขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวเช่นกัน ดังนั้น ผู้ประกอบกิจการซึ่งรวมถึงกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REITs) ที่มุ่งเน้นกำไรเพียงอย่างเดียวอาจไม่สามารถนำพาให้ธุรกิจสามารถแข่งขันและเติบโตได้ในระยะยาว หากแต่จำเป็นต้องสร้างคุณค่าให้แก่กิจการอย่างยั่งยืนด้วยการดำเนินธุรกิจโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Environmental, Social and Governance หรือ ESG) เพื่อตอบโจทย์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงผู้ลงทุนที่ไม่เพียงแต่พุ่งความสนใจไปที่สินทรัพย์ประเภท ESG เท่านั้น ยังใช้ปัจจัยด้านความยั่งยืนมาจัดอันดับภาคธุรกิจเพื่อเลือกลงทุนอีกด้วย นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โครงสร้างประชากร สถานการณ์โรคอุบัติใหม่ และการเปลี่ยนถ่ายของยุคสมัยที่กำลังเข้าสู่ยุคดิจิทัลล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องเร่งปรับตัวภายใต้ปัจจัยการเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการกำหนดนโยบาย การประเมินผลการดำเนินงาน และการจัดการผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจ รวมไปถึงการรายงานและเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนในด้าน ESG เพื่อสื่อสารกับผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่า กิจการได้คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม ความโปร่งใส ศักยภาพในการแข่งขัน และการสร้างผลตอบแทนในระยะยาวร่วมด้วย โดยจะเห็นว่าปัจจุบันบริษัทจดทะเบียนทั่วโลกถูกกำหนดให้เปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืน ทั้งในรูปแบบของภาคบังคับ (mandatory disclosure) อย่างเช่น สหภาพยุโรป สหราชอาณาจักร แคนาดา ฮ่องกง สิงคโปร์ และมาเลเซีย หรือรูปแบบการปฏิบัติตามหรืออธิบาย เช่น สหรัฐอเมริกา (comply or […]
อ่านเพิ่มเติม »