คอลัมน์ Healthy Aging ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ ปกติแล้ว ผมจะเขียนเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพของตัวเองให้ดีขึ้น เพื่อการสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
แต่ครั้งนี้ขอกล่าวถึงปัจจัยเสี่ยงที่ยังคั่งค้างอยู่จาก COVID-19 และการมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาโลกร้อนที่มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น หลังการประชุม COP26 ที่เพิ่งเสร็จสิ้นไป1.รัฐบาลไทยมีท่าทีที่ชัดเจนมากว่าต้องการเปิดเศรษฐกิจ เพราะการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยนั้นล้าหลังการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกอย่างมาก กล่าวคือจีดีพีโลกติดลบ 3.1% ในปี 2020 และเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวอย่างชัดเจนในปีนี้ คือ จีดีพีโลกขยายตัว 5.9% ทั้งนี้ จีดีพีโลกคาดว่าจะขยายตัว 4.9% ในปีหน้า แต่จีดีพีไทยในปีหน้าจะขยายตัวได้ประมาณ 3.5-4.
3.ความเสี่ยงจากการระบาดระลอกใหม่ และการเกิด cluster ใหม่นั้นเห็นได้บ่อยครั้งในอดีต และจะเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต เห็นได้จากการระบาดที่เพิ่มขึ้นอย่างมากที่สิงคโปร์ และหลายประเทศในยุโรป แม้ว่าประเทศดังกล่าวมีการฉีดวัคซีนให้กับประชาชนคิดเป็นสัดส่วนสูงมากแล้ว 4.ความเสี่ยงที่อาจมีการระบาดของ COVID-19 เพิ่มขึ้นในประเทศไทย ที่บางคนอาจไม่นึกถึง คือการระบาดของ COVID-19 จากการนำเข้าแรงงานต่างด้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากรัฐบาลกำหนดขั้นตอนและอนุมัติการนำเข้าแรงงานที่ถูกกฎหมายอย่างเชื่องช้า ทำให้เกิดการลักลอบนำเข้าแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน เพราะประเทศไทยขาดแคลนแรงงานอย่างมาก
ทั้งนี้ จากการตรวจสอบในช่วงพฤศจิกายน 2020 ถึงมกราคม 2021 อันตรายคือสัตว์ดังกล่าว กำลังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของโคโรนาไวรัสที่แบ่งตัว และกลายพันธุ์ตลอดเวลา แปลว่าในอีก 7-8 ปี อาจมีการกลายพันธุ์เป็น COVID-30 ที่กระโดดจากสัตว์มาแพร่เชื้อให้มนุษย์ และมีความร้ายแรงกว่า COVID-19 ก็เป็นได้ ดังนั้น ความเสี่ยงจากไวรัสนั้นจะไม่ได้จบลง เมื่อมนุษย์ปราบ COVID-19 ได้สำเร็จ
2.การจะควบคุมอุณหภูมิของโลกให้เพิ่มขึ้นไม่เกิน 1.5c ในอีก 80 ปีข้างหน้านั้นเป็นภาระที่หนักหน่วงอย่างมาก และปัจจุบันยังไม่มีประเทศใดเลยที่มีนโยบายที่ชัดเจน ซึ่งหากปฏิบัติแล้วจะควบคุมอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มเกินกว่า 1.5c
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
เผย 3 สัญญาณเตือนที่บ่งบอกว่าเราเริ่มผ่อนรถไม่ไหว !ปัญหาที่ผ่อนรถไม่ไหวหลายคน อาจจะประสบปัญหานี้โดยมาก แม้ว่าช่วงเวลาวิกฤตของโรคระบาด COVID-19 จะผ่านไปแล้ว แต่หลายคนยังคงได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง
อ่านเพิ่มเติม »
'หางโจว เกมส์' Smart Asian Games และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมกีฬาเอเชียน เกมส์ ครั้งที่ 19 หางโจว เกมส์ ที่ประเทศจีนจะเปิดอย่างเป็นทางการวันที่ 23 ก.ย.66 อีกหนึ่งสิ่งที่นอกเหนือจากการแข่งขันที่น่าตื่นเต้นแล้ว'เจ้าภาพ' หวังที่จะประสบความสำเร็จในการจัดการคาร์บอนและนำเสนอเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยด้วย
อ่านเพิ่มเติม »
วิว กุลวุฒิ ติด 1 ใน 10 นักกีฬาน่าจับตามองเอเชียน เกมส์'วิว'กุลวุฒิ วิทิตศานต์ นักแบดมินตันดีกรีแชมป์โลก ติดโผ 1 ใน 10 นักกีฬาน่าจับตามองศึกเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 19
อ่านเพิ่มเติม »
ไหว้พระพิฆเนศ ต้องเตรียมอะไรบ้าง และ 5 ข้อห้ามต้องรู้การ 'ไหว้พระพิฆเนศ' เนื่องในช่วงเทศกาลคเณศจตุรถี หรือ วันเกิดพระพิฆเนศ ประจำปี 2566 ที่ปีนี้ตรงกับวันที่ 19-28 กันยายน 2566 ไปดูกันว่าสิ่งที่ต้องเตรียมในการไหว้บูชานั้นมีอะไรบ้าง และ 5 ข้อห้ามต้องรู้
อ่านเพิ่มเติม »
ไทยต้านไม่ไหวเเพ้เกาหลีใต้ 0-4 เอเชียนเกมส์รอบเเบ่งกลุ่ม ลุ้นเข้ารอบนัดสุดท้ายผลการแข่งขันฟุตบอลชายในมหกรรมเอเชียน เกมส์ ครั้งที่ 19 กลุ่มอี นัดที่สอง ทีมชาติไทย ลงสนามพบกับ ทีมชาติเกาหลีใต้
อ่านเพิ่มเติม »
นักกีฬาไทยเชิญธงไตรรงค์ขึ้นสู่ยอดเสา 'ธนา' เชื่อมั่น 'จีน' ประสบการณ์สูง จัดเอเชียนเกมส์ฉลุยความเคลื่อนไหวการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 19 หรือ หางโจวเกมส์ ที่เมืองหางโจว ประเทศจีน วันที่ 22 กันยายน 2566 ก่อนพิธีเปิดการแข่งขัน 1 วัน ภายในหมู่บ้านนักกีฬามีพิธีเชิญธงของแต่ละชาติขึ้นสู่ยอดเสา เปรียบเสมือนการแข่งขันก
อ่านเพิ่มเติม »