นายอมรเทพ จาวะลา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสำนักวิจัย และที่ปรึกษาการลงทุน ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย(CIMBT) เปิดเผยว่า ตลาดการเงินผันผวนหนักอีกครั้งในเดือนกุมภาพันธ์ หลังตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐออกมาดีเกินคาด สะท้อนว่าการขึ้นดอกเบี้ยไปถึงระดับ 4.75% ไม่สามารถชะลอเศรษฐกิจสหรัฐลงได้ จนนักลงทุนคาดว่าการขึ้นดอกเบี้ยของเฟดอาจจำเป็นต่อจนถึงระดับ 5.50% ในเดือนมิถุนายน อย่างไรก็ดี สำนักวิจัยฯ มองว่า เฟดไม่จำเป็นต้องกลับมาใช้ยาแรงด้วยการขึ้นดอกเบี้ยครั้งละ 0.50% เพื่อฉุดเงินเฟ้อลงเหมือนที่เคยทำเมื่อปีก่อน แต่จะเห็นการขึ้นดอกเบี้ยแบบค่อยเป็นค่อยไปครั้งละ 0.25% และไม่น่าเห็นการลดอัตราดอกเบี้ยในปีนี้จนกว
นายอมรเทพ จาวะลา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสำนักวิจัย และที่ปรึกษาการลงทุน ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย เปิดเผยว่า ตลาดการเงินผันผวนหนักอีกครั้งในเดือนกุมภาพันธ์ หลังตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐออกมาดีเกินคาด สะท้อนว่าการขึ้นดอกเบี้ยไปถึงระดับ 4.75% ไม่สามารถชะลอเศรษฐกิจสหรัฐลงได้ จนนักลงทุนคาดว่าการขึ้นดอกเบี้ยของเฟดอาจจำเป็นต่อจนถึงระดับ 5.50% ในเดือนมิถุนายน
อย่างไรก็ดี สำนักวิจัยฯ มองว่า เฟดไม่จำเป็นต้องกลับมาใช้ยาแรงด้วยการขึ้นดอกเบี้ยครั้งละ 0.50% เพื่อฉุดเงินเฟ้อลงเหมือนที่เคยทำเมื่อปีก่อน แต่จะเห็นการขึ้นดอกเบี้ยแบบค่อยเป็นค่อยไปครั้งละ 0.25% และไม่น่าเห็นการลดอัตราดอกเบี้ยในปีนี้จนกว่าเงินเฟ้อจะลดลงอย่างชัดเจน จนปรากฏคำใหม่ 3 คำno dis-inflation – เงินเฟ้อไม่ลดลงเทียบเดือนต่อเดือนในระยะสั้น
ทั้งนี้ ในภาวะที่สหรัฐยังเผชิญความท้าทาย จากเงินเฟ้อฝั่งอุปสงค์ที่ขยายตัว และค่าจ้างแรงงานยังเพิ่มสูงจากตลาดแรงงานที่ตึงตัว ทั้งหมดนี้ นักลงทุนยังสามารถหาจังหวะการลงทุนในภาวะเช่นนี้ได้ แต่สำหรับฝั่งตลาดเกิดใหม่กำลังเผชิญสงครามค่าเงิน version ใหม่ หรือ Currency War 3.0 นายอมรเทพกล่าวอีกว่า ย้อนกลับไปปี 2019 ช่วงสหรัฐทำสงครามการค้ากับจีน ธนาคารกลางในภูมิภาคพยายามลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อปล่อยให้ค่าเงินอ่อนค่า หวังเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านส่งออก กลายเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เรียกว่าหากลดดอกเบี้ยแรงกว่าเพื่อน ค่าเงินจะอ่อนกว่า สามารถขายของหรือส่งออกได้ดีกว่า เกิดเป็นสงครามค่าเงินรูปแบบแรก แต่พอมาปี 2022 เกิดสงครามค่าเงินรูปแบบใหม่ ธนาคารกลางในภูมิภาคพยายามขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อพยุงค่าเงินให้ไม่อ่อนค่าแรงเทียบดอลลาร์สหรัฐ แม้การส่งออกทำได้ดี...
สำหรับดอกเบี้ยนโยบายของไทย สำนักวิจัยฯ คาดการณ์ว่า กนง. จะมีมติปรับขึ้นดอกเบี้ยในการประชุม 29 มี.ค.นี้อีก 0.25% สู่ระดับ 1.75% แต่ก็มีลุ้นว่าอาจเสียงแตกให้ตรึงดอกเบี้ยจากการที่ภาคส่งออกหดตัวอาจฉุดเศรษฐกิจไทยเสี่ยงโตช้า เข้าสู่ภาวะถดถอยทางเทคนิค และในการประชุมเดือนพฤษภาคมอาจเห็นการตรึงดอกเบี้ย ปล่อยให้บาทอ่อนค่าอยู่ในกรอบ 35-36 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐในไตรมาสสอง ช่วงเงินเฟ้อขยับลง เพื่อฟื้นเศรษฐกิจ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
จับตา Currency War 3.0 สงครามค่าเงินรูปแบบใหม่ดร.อมรเทพ จาวะลา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสำนักวิจัย และที่ปรึกษาการลงทุน ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดเผยว่า ตลาดการเงินผันผวนหนักอีกครั้งในเดือนกุมภาพันธ์ หลังตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐออกมาดีเกินคาด สะท้อนว่าการขึ้นดอกเบี้ยไปถึงระดับ 4.75% ไม่สามารถชะลอเศรษฐกิจสหรัฐลงได้
อ่านเพิ่มเติม »
เปิดโผ 24 หุ้น รับประโยชน์จากอัตราเงินเฟ้อไทยมีแนวโน้มชะลอตัวASPS เปิด 24 หุ้น รับประโยชน์อัตราเงินเฟ้อไทยมีแนวโน้มชะลอตัว เป็นแรงหนุนตลาดหุ้นคึกคัก-ลุ้น กนง.ชะลอการขึ้นดอกเบี้ย ฝ่ายวิจัยบริษัทหลักทรัพย์(บล.) เอเซีย...
อ่านเพิ่มเติม »
CIMBT เตือนระวังสงครามค่าเงินแบบใหม่ - คาดประชุมกนง.เดือนนี้ขึ้นดบ.อีก 0.25%สำนักข่าวอีไฟแนนซ์ไทย- -8 มี.ค. 66 10:36 น. ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จับตา Currency War 3.0 สงครามค่าเงินรูปแบบใหม่ คือ หลายประเทศตรึงดบ.ให้ค่าเงินอ่อนค่า เพิ...
อ่านเพิ่มเติม »
ลุ้น 'ค่าไฟ' ลดลงต่ำกว่า 5 บาทต่อหน่วย เตรียมเคาะ 8 มีนาคม 2566ลุ้น ค่าไฟฟ้าลดลง ต่ำ 5 บาทต่อหน่วย คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานเตรียมเคาะ 8 มีนาคม 2566การประชุมคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เพื่อพิจารณาค่าไฟฟ้าผันแปร หรือ Ft งวดเดือน พ.ค.-ส.ค.6
อ่านเพิ่มเติม »
ไม่มีเหตุผลอะไรค่าไฟงวดใหม่ไม่ลด จับตา 8 มี.ค.นี้ เคาะราคางวดใหม่ต่ำกว่า 5 บ. | เดลินิวส์ข่าวดี สารพัดต้นทุนลดหมดแล้ว ค่าไฟงวดใหม่ ต่ำกว่า 5 บาทแน่ จับตา 8 มี.ค. กกพ.เคาะงวดใหม่. ค่าไฟ ค่าไฟฟ้า เดลินิวส์
อ่านเพิ่มเติม »
KTB คาดเงินเฟ้อยังสูงกว่ากรอบเป้าหมายถึงกลางปีนี้ หนุน กนง.ยังขึ้นดบ.รอบ มี.ค.- พ.ค.66Krungthai COMPASS คาดเงินเฟ้อยังสูงกว่ากรอบเป้าหมายจนถึงกลางปี หลังเงินเฟ้อ ก.พ.ชะลอตัวอยู่ที่ 3.79% เหตุราคาสินค้ายังปรับขึ้นสูง ตามต้นทุนราคาพลังงานและกา...
อ่านเพิ่มเติม »