เทคโนโลยี CCS (Carbon Capture and Storage) คือ เทคโนโลยีดักจับ และกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงไฟฟ้าประเภทถ่านหิน กระบวนการกลั่นน้ำมัน โรงไฟฟ้า หรืออุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยจะถูกแยกออกจากก๊าซชนิดอื่น ผ่านกระบวนการทางเคมีด้วยสารละลายเอมีน กรุงเทพธุรกิจ
ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมโรงกลั่น และการผลิตก๊าซธรรมชาติ จากนั้น จะถูกกักเก็บในรูปของ CO2 ที่มีความบริสุทธิ์สูง และฉีดอัดก๊าซฯ ลงสู่ใต้ดินที่ความลึกหลายกิโลเมตร ซึ่งจะถูกเก็บไว้ไม่รั่วไหลออกมาเป็นเวลาหลายล้านปี
การใช้เทคโนโลยี CCS มีจุดมุ่งหมายเพื่อป้องกันไม่ให้มีการปล่อย CO2 ในปริมาณมากเข้าสู่ชั้นบรรยากาศคือหนึ่งในมาตรการที่จะลดการปล่อยก๊าซจากเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน นอกจากการกักเก็บคาร์บอนไว้แล้ว เทคโนโลยีที่ล้ำหน้ากว่าคือ การนำคาร์บอนมาใช้ประโยชน์ โดยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทวีความรุนแรงมากขึ้น ประเทศต่างๆ ทั่วโลกตระหนัก และให้ความสำคัญในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในฐานะหน่วยงานด้านพลังงานของประเทศมีความมุ่งมั่นพัฒนาการผลิต และส่งไฟฟ้าด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัย พร้อมสนับสนุนกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงได้ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิจัยและพัฒนานวัตกรรมภายใต้โครงการนี้...
สำหรับ กฟผ. กำหนดนโยบายมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน หรือ “EGAT Carbon Neutrality” ภายในปี พ.ศ.2593 เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ของประเทศไทย ภายในปี 2608 ภายใต้กลยุทธ์ “Triple S” ประกอบด้วย1)S-Sources Transformation นำเทคโนโลยีที่ทันสมัย และเพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือกที่สะอาด และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการผลิตไฟฟ้า
2)S-Sink Co-creation เดินหน้าโครงการปลูกป่า 1 ล้านไร่ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการดักจับ การใช้ประโยชน์ และการกักเก็บคาร์บอน เพื่อดูดซับ และกักเก็บคาร์บอนอย่างมีส่วนร่วม และ3)S-Support Measures Mechanism ส่งเสริมให้เกิดการใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสนับสนุนโครงการเสริมสร้างเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ที่ช่วยลดการปลดปล่อยคาร์บอนสู่ชั้นบรรยากาศ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
'เอ็กโก กรุ๊ป' ปิดดีลซื้อหุ้น 49% โรงไฟฟ้า “ไรเซ็ก” 609 เมกฯ'เอ็กโก กรุ๊ป' ปิดดีลซื้อหุ้น 49% โรงไฟฟ้า “ไรเซ็ก” 609 เมกะวัตต์ คาดมีกำลังผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้นเพิ่มขึ้นอีก 298 เมกะวัตต์ ต่อยอดตลาดไฟฟ้าระดับโลก ผลิตไฟฟ้า เอ็กโกกรุ๊ป โรงไฟฟ้า
อ่านเพิ่มเติม »
เอ็กโกกรุ๊ปปิดดีลซื้อหุ้นโรงไฟฟ้า 'ไรเซ็กสหรัฐฯ'เอ็กโกกรุ๊ปประกาศปิดดีลซื้อหุ้น 49% โรงไฟฟ้า'ไรเซ็ก' ตั้งอยู่ในเมืองจอห์นสตัน รัฐโรดไอแลนด์ ประเทศสหรัฐอเมริกาจำนวน 298 เมกะวัตต์ หนุนกำลังการผลิตรวมแตะ 6,202 เมกะวัตต์
อ่านเพิ่มเติม »
‘สูงวัย’เนื้อหอม! หลายพรรคเปิดนโยบาย‘เพิ่มเบี้ยรายเดือน’ทุ่มเล่นใหญ่สู้ศึกเลือกตั้ง’66“12,519,926 คน” เป็นจำนวนของ “ผู้สูงอายุ” ในประเทศไทย ณ สิ้นปี 2565 ซึ่งเมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน คือ 66,090,475 คน สัดส่วนของผู้สูงอายุไทยจะคิดเป็นร้อยละ 18.94 ของประชากรทั้งหมด ดังนั้นจึงเท่ากับว่า “ไทยเข้าสู่ภาวะสังคมสูงวัยแล้ว” โดย องค์การสหประชาชาติ (UN) ได้แบ่งภาวะสังคมสูงวัย หรือสังคมผู้สูงอายุไว้ 3 รดับ คือ
อ่านเพิ่มเติม »
รู้จัก 'ซีเซียม-137' วัสดุกัมมันตรังสี สารสุดอันตราย หากโดนสารควรทำอย่างไรรู้จัก 'ซีเซียม-137' วัสดุกัมมันตรังสี หลังหายออกจาก โรงไฟฟ้า จ.ปราจีนบุรี สารสุดอันตราย หากโดนสารควรทำอย่างไร ซีเซียม ซีเซียม-137 Cs-137 สารกัมมันตรังสี โรงไฟฟ้า คมชัดลึก
อ่านเพิ่มเติม »
Carbon Capture ดักจับ-กักเก็บคาร์บอน กู้โลกร้อนได้จริง ?ทำความรู้จัก Carbon Capture เทคโนโลยีดักจับเเละกักเก็บคาร์บอน นวัตกรรมกู้โลกรวน โลกร้อน เเละทำงานอย่างไรอย่างไร CarbonCapture คาร์บอน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
อ่านเพิ่มเติม »
เชียงใหม่ PM2.5 พุ่งสูงต่อเนื่องติดอันดับ 2 จากทั่วโลก ขณะที่ 7 เขตกทม.-40 จังหวัดฝุ่นพิษสูงเกินค่ามาตรฐานเชียงใหม่ค่าฝุ่น PM2.5 สูงต่อเนื่อง ติดอันดับ 2 จากทั่วโลก ผู้สื่อข่าวรายงานว่าวันนี้ (12 มี.ค.66) จากข้อมูลแอปพลิเคชั่น IQAir พบว่าจังหวัดเชียงใหม่ยังคงติดท็อปอันดับจากค่าฝุ่น PM2.5 พุ่งสูงต่อเนื่อง โดยช่วงเวลา 10.00น.อยู่ที่อันดับ 2 ขณะที่อันดับ 1 คือ เดลี,อินเดีย อันดับ2 คือ เชียงใหม่,ไทย อันดับ 3 คือ โกลลาตา,อินเดีย อันดับ 4 คือ ลาฮอร์,ปากีสถาน อันดับ5 คือ ธากา,บังกลาเทศ อันดับ6 คือ Baghdad,อิรัก อันดับ7 คือ Kuwait City,คูเวต อันดับ8 คือ มุมไบ,อินเดีย อันดับ9 คือ กาฐมาณฆุ,เนปาล และอันดับ 10 คือ ย่างกุ้ง,เมียนม่าร์(พม่า) ขณะที่ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ณ
อ่านเพิ่มเติม »