ท่ามกลางการตรวจสอบด้านกฎระเบียบที่เข้มงวดมากขึ้นในอุตสาหกรรมสินทรัพย์ดิจิทัล (cryptocurrency) หลังจากการระเบิดของ FTX และการล่มสลายของตลาดในวงกว้าง
The technical storage or access is strictly necessary for the legitimate purpose of enabling the use of a specific service explicitly requested by the subscriber or user, or for the sole purpose of carrying out the transmission of a communication over an electronic communications network.The technical storage or access is necessary for the legitimate purpose of storing preferences that are not requested by the subscriber or user.
The technical storage or access that is used exclusively for anonymous statistical purposes. Without a subpoena, voluntary compliance on the part of your Internet Service Provider, or additional records from a third party, information stored or retrieved for this purpose alone cannot usually be used to identify you.The technical storage or access is required to create user profiles to send advertising, or to track the user on a website or across several websites for similar marketing purposes.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
ก.ล.ต.เปิดให้ผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนา Digital Infrastructure ขอทดสอบ Web Portal กับผู้ใช้งานจริง : อินโฟเควสท์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดให้ผู้พัฒนาและให้บริการระบบ (main operator) ผู้ออกหลักทรัพย์ และผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ยื่นคำขอเพื่อเริ่มทดสอบการใช้งานระบบ Web Portal ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructure) ภายใต้โครงการ Sandbox ของ ก.ล.ต. โดยผู้เข้าร่วมโครงการสามารถยื่นคำขอได้ตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ 10 มี.ค.66 ตั้งแต่ปลายปี 62 ก.ล.ต. ได้ริเริ่มโครงการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructure) ของตลาดทุนไทย โดยร่วมกับผู้พัฒนาและให้บริการระบบ (main operator) ซึ่งประกอบด้วย สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย (ASCO) สมาคมธนาคารไทย (TBA) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมเพื่อการพัฒนาตลาดทุน (CMDF) ในการพัฒนาระบบ Web Portal โดยได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) ร่วมกับกลุ่มผู้ระดมทุน ผู้ประกอบธุรกิจทั้งธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (ThaiBMA) เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบร่วมกันมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งระยะแรกจะสามารถรองรับกระบวนการออกเสนอขายและการทำธุรกรรมตราสารหนี้ในตลาดแรก และ ก.ล.ต. […]
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต. เผย 7 กลโกงชวนลงทุน ต้องรู้ให้ทันเปิด 7 กลโกงชวนลงทุน ผลตอบแทนล่อตาล่อใจ เตือนอย่าเพิ่งหลงเชื่อ แนะไตร่ตรองให้มากก่อนที่จะโอนเงินให้ใครและไม่ตกเป็นเหย อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
อ่านเพิ่มเติม »
รวบผู้บริหาร 'นอมินี' เบี้ยวไม่ส่งงบการเงิน ก.ล.ต. เจอโทษปรับ 2 ล้านรวบผู้บริหาร 'นอมินี' เบี้ยวไม่ส่งงบการเงิน ก.ล.ต. สอบเชิงลึกพบ เป็นเพียง พนักงานบริษัท ถูกชวนให้มาเป็นกรรมการบริษัท-ไม่ต้องทำงาน เจอโทษปรับ 2 ล้าน
อ่านเพิ่มเติม »
รวบคาคอนโด! ผู้บริหาร เบี้ยวส่งงบการเงิน ก.ล.ต. เจอโทษปรับเกือบ2ล้าน - ข่าวสดปอศ. นำกำลังเจ้าหน้าที่บุกรวบ ผู้บริหาร ไม่ส่งงบการเงินให้ ก.ล.ต. พบถูกชักชวนเป็นนอมินี ไม่เคยผ่านงานบริหาร โทษปรับร่วม 2 ล้าน
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต. เปิดเฮียริ่งปรับเกณฑ์รายการที่มีนัยสำคัญ-เกี่ยวโยงกัน ของบริษัทจดทะเบียนสำนักข่าวอีไฟแนนซ์ไทย- -22 ก.พ. 66 12:15 น. ก.ล.ต. เปิดรับฟังความคิดเห็นต่อการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทำรายการที่มีนัยสำคัญและรายการที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัทจด...
อ่านเพิ่มเติม »
ก.ล.ต.จ่อปรับเกณฑ์รายการที่มีนัยสำคัญ-รายการเกี่ยวโยง บจ.เข้มขึ้น : อินโฟเควสท์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดรับฟังความคิดเห็นต่อการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทำรายการที่มีนัยสำคัญ (Material Transaction) และรายการที่เกี่ยวโยงกัน (Related Party Transaction) ของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Regulatory Guillotine เพื่อทบทวนกฎเกณฑ์ให้มีเท่าที่จำเป็นและสอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน และอำนวยความสะดวกต่อบริษัทจดทะเบียน โดยยังคงหลักการคุ้มครองผู้ลงทุนที่ดี ด้วยหลักเกณฑ์การทำรายการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์และรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียนมีผลใช้บังคับ มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 ประกอบกับที่ผ่านมาบริษัทจดทะเบียนมีรูปแบบการทำรายการที่หลากหลายและซับซ้อนมากขึ้น ก.ล.ต. จึงมีแนวคิดในการปรับปรุงหลักเกณฑ์ดังกล่าวเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและเทียบเคียงหลักการสากล ในขณะที่ยังคงหลักการคุ้มครองผู้ลงทุนที่เพียงพอ โดยมีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1. หลักเกณฑ์การทำรายการที่มีนัยสำคัญ – ลดขนาดรายการที่มีนัยสำคัญที่ต้องขออนุมัติผู้ถือหุ้นเป็นร้อยละ 25 จากปัจจุบันร้อยละ 50 เพิ่มเกณฑ์กรณีบริษัทจดทะเบียนมี net asset ติดลบ หรือมีผลการดำเนินงานขาดทุน และทำรายการที่อาจกระทบบริษัทจดทะเบียน และกำหนดสิทธิให้ผู้ถือหุ้นออกเสียงคัดค้านการทำรายการกรณีคณะกรรมการตรวจสอบ หรือ IFA มีความเห็นว่าผู้ถือหุ้นไม่ควรอนุมัติการทำรายการ – ปรับปรุงวิธีการนับรวมรายการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ โดยหากเป็นรายการที่เกี่ยวข้องกัน หรือโครงการเดียวกัน ถือว่าเป็นรายการเดียวกัน – ปรับปรุงสูตรการคำนวณขนาดรายการ โดยใช้เกณฑ์สินทรัพย์สุทธิ (Net Asset) แทนสินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิ (Net Tangible […]
อ่านเพิ่มเติม »