BTS ยันข้อเสนอขอรัฐอุดหนุนรถไฟฟ้า 'สายสีส้ม' 9 พันล. ทำได้จริง-ย้ำประมูลส่อไม่สุจริต isranews สำนักข่าวอิศรา รถไฟฟ้าสายสีส้ม
จากกรณีที่คณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่ง พ.ร.บ.การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี ได้พิจารณาผลการประเมินซองข้อเสนอซองที่ 3 ข้อเสนอด้านการลงทุนและผลตอบแทน ผลปรากฏว่า บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด หรือ BEM เป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่ผ่านการประเมินสูงสุด
ต่อมา รฟม. ได้ออกข่าวประชาสัมพันธ์ ฉบับที่ 59/2565 เมื่อวันที่ 14 ก.ย.2565 โดยระบุว่า แม้ BTSC จะนำข้อมูลด้านการลงทุนและผลตอบแทนในการยื่นข้อเสนอโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม เมื่อปี 2563 มาแสดง แต่ข้อมูลดังกล่าวไม่สามารถนำตัวเลขมาเปรียบเทียบกับผลการยื่นข้อเสนอในการคัดเลือกเอกชนปัจจุบันได้ เพราะไม่ทราบว่าข้อเสนอด้านคุณสมบัติ และข้อเสนอด้านเทคนิค จะผ่านเกณฑ์การพิจารณาหรือไม่
แทนที่คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะปฏิบัติตามคำสั่งศาล กลับมีมติยกเลิกการประมูลในครั้งดังกล่าว และเปิดประมูลโครงการครั้งใหม่เมื่อกลางปี 2565 โดยปรับเปลี่ยนคุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้มีสิทธิเข้ายื่นข้อเสนอให้แตกต่างไปจากเดิม จนทำให้บริษัทฯ และพันธมิตร ซึ่งเป็นเอกชนที่เคยมีคุณสมบัติและสามารถเข้าประมูลได้ในครั้งที่ผ่านมา กลับไม่สามารถเข้าประมูลในครั้งนี้ได้
พร้อมตั้งข้อสังเกตว่าในการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม แท้จริงแล้วไม่ได้มีการเปิดกว้างแบบที่ รฟม. กล่าวอ้าง เนื่องจากเอกชนที่ยื่นข้อเสนอจำนวน 2 รายนั้น มีเอกชน 1 รายที่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายไม่ให้เข้าร่วมและ/หรือได้รับคัดเลือกเป็นคู่สัญญาร่วมลงทุนในโครงการร่วมลงทุนได้ ในขณะที่เอกชนที่เหลืออยู่อีก 1 รายก็คือ เอกชนที่ รฟม. เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ลำดับที่ 2 นั่นเอง
ขณะที่ นายสามารถ ราชพลสิทธิ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัว ‘ดร.สามารถ ราชพลสิทธิ์ - Dr.Samart Ratchapolsitte’ โดยตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการประมูลโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี ว่า เงินก้อนใหญ่ ซึ่งเป็นภาษีของประชาชนกำลังจะล่องลอยไป 6.8 หมื่นล้านบาท จากการประมูลในครั้งนี้ช็อกแทบหมดสติ ! ไปตามๆ กัน เมื่อ BTSC แฉให้เห็นชัดๆ ว่าต้องการรับเงินสนับสนุนจาก รฟม. ในการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันตกแค่ 9.
ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องผ่านการพิจารณาข้อเสนอซองที่ 2 ซึ่ง รฟม. ได้เพิ่มคะแนนผ่านข้อเสนอด้านเทคนิคให้สูงขึ้นกว่าการประมูลครั้งที่ 1 ITD Group ซึ่งประกอบด้วย ITD และ Incheon Transit Corporation หรือ ITC ผู้เดินรถไฟฟ้าจากเกาหลี เสนอผลประโยชน์สุทธิให้ รฟม. ติดลบ 102,635.66 ล้านบาท นั่นหมายความว่า รฟม. จะต้องให้เงินสนับสนุนแก่ ITD Group จำนวน 102,635.66 ล้านบาท
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
หลุดอีก!อ้างเป็น เจนนี่ BLACKPINK เดท วี BTS เที่ยวฟาร์มในเกาะเจจูหลุดอีก!อ้างเป็น เจนนี่ BLACKPINK เดท วี BTS เที่ยวฟาร์มในเกาะเจจู ผ่าน teeneecom
อ่านเพิ่มเติม »
ช็อก !6.8 หมื่นล้าน เงินขอรับสนับสนุนประมูลรถไฟฟ้าสายสีส้มที่ล่องลอยไปดร.สามารถ จี้ปม ชวนช็อก!6.8 หมื่นล้าน เงินขอรับสนับสนุนประมูลสายสีส้มที่ล่องลอยไป หลังBTSC เปิดให้เห็นชัดๆ ว่าต้องการรับเงินสนับสนุนจาก รฟม. ในการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้มตะวันตกแค่ 9.6 พันล้าน ต่ำกว่า BEM ผู้ชนะการประมูลถึง 6.8 หมื่นล้าน
อ่านเพิ่มเติม »
ผู้ยื่นข้อเสนอที่ผ่านการประเมินสูงสุด การคัดเลือกเอกชนเข้าร่วมลงทุน โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์)
อ่านเพิ่มเติม »
ศาลปกครองเปิดฉากพิจารณาคดีรถไฟฟ้าสายสีส้มศาลปกครองสูงสุดนัดนั่งพิจารณาคดีครั้งแรกระหว่าง บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (ผู้ฟ้องคดี) กับ คณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่ง พ.ร.บ.การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) กับพวกรวม 2 คน
อ่านเพิ่มเติม »
BTSC ลุย 3 คดีฟ้องรถไฟฟ้าสายสีส้มพึ่งกระบวนการยุติธรรมชี้ขาด : อินโฟเควสท์นางสาวปะราลี เตชะจงจินตนา ทนายความผู้รับมอบอำนาจ บมจ.ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (BTSC ) เปิดเผยภายหลังรับฟังศาลปกครองสูงสุดนัดนั่งพิจารณาคดีครั้งแรก ในคดีหมายเลขดำที่ อ.572/2565 ซึ่ง BTSC ฟ้องคณะกรรมการคัดเลือกตามมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) กับพวกรวม 2 คน เนื่องจากคณะกรรมการ ม.36 มีมติแก้ไขเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาผู้ชนะการประเมินของเอกสารคัดเลือกเอกชน และวิธีการประเมินข้อเสนอด้านเทคนิค ข้อเสนอด้านการลงทุน และผลตอบแทนในการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน การออกแบบและก่อสร้างงานโยธาส่วนตะวันตก การจัดหาระบบรถไฟฟ้า การให้บริการการเดินรถไฟฟ้าและซ่อมบำรุงรักษา โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – มีนบุรี (สุวินทวงศ์) เป็นเหตุให้ BTSC ซึ่งเป็นผู้ซื้อเอกสารข้อเสนอการร่วมลงทุนได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จึงเรียกค่าเสียหาย 500,000 บาท ทั้งนี้ ในวันนี้ศาลฯยังไม่มีคำตัดสิน โดย BTSC ได้ยื่นคำแถลงเป็นลายลักษณ์อักษรให้กับศาล แต่ฝั่งผู้ถูกฟ้องคดียังไม่มีคำชี้แจง หลังจากนี้ศาลปกครองสูงสุดจะแจ้งวันนัดอ่านคำพิพากษา ซึ่งศาลจะชี้ว่าการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหลักเกณฑ์ดังกล่าวชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่มีผลแต่อย่างใด เพราะ รฟม.ได้ยกเลิกการประมูลรอบแรกไปแล้ว …
อ่านเพิ่มเติม »
ข้อเท็จจริงกรณี BTSC ให้ข้อมูลข้อเสนอทางด้านการลงทุนและผลตอบแทน โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ - มีนบุรี (สุวินทวงศ์)
อ่านเพิ่มเติม »