“บาสกิ้น ร็อบบิ้นส์” ยกธงขาว พ่ายให้กับการทำตลาดไอศกรีมในประเทศไทย เหตุผลหลักๆ หนีไม่พ้นการประสบภาวะ “ขาดทุน” กินเวลายาวนาน อ่านต่อ: กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
เมื่อรวมเฉพาะ 1 ทศวรรษ หรือราว 10 ปี บริษัทขาดทุนสะสมรวมกว่า 128 ล้านบาท เช่นปี 2561 ขาดทุนกว่า 9.
ย้อนเส้นทางแบรนด์ระดับโลก “บาสกิ้น ร็อบบิ้นส์” เข้ามาทำตลาดในประเทศไทยราวปี 2539 แต่การสร้างแบรนด์ เปิดร้าน ขยายสาขา ไม่ได้มีความคึกคักมากนักได้ทำการรับช่วงต่อในการบริหารแบรนด์ “บาสกิ้น ร็อบบิ้นส์” ในประเทศไทย ซึ่งขณะนั้นมีระยะสัญญาราว 5 ปี แนวทางการทำตลาด ได้อัพเกรดแบรนด์ให้มีความเป็นพรีเมียม สินค้า วัตถุดิบทุกอย่าง ท็อปปิ้ง วิปครีม ฯ ล้วน “นำเข้า” จากสหรัฐฯระบุว่า ร้านอาหารในพอร์ตโฟลิโอของบริษัท จากทุกแบรนด์มีสาขารวมกันราว 576 สาขา แต่ร้านไอศกรีมส่วนรูปแบบร้านมีทั้งคีออส พื้นที่ 20-30...
จำนวนร้านว่าน้อยแล้วทั่วไทยมีเพียง 10 สาขา มาดูความสามารถในการทำรายได้ ปี 2564 บาสกิ้น ร็อบบิ้นส์ ทำเงินสัดส่วน 1% เท่านั้น ลดลงจากปี 2562-2563 ที่มีสัดส่วน 3% สำหรับ “มัด แอนด์ ฮาวด์” ถือครองสัญญาการเป็นมาสเตอร์แฟรนไชส์จาก “Baskin Robbins Franchising LLC” ประเทศ สหรัฐฯ ซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิ์หรือแฟรนไชส์ซอว์ หากนับเวลาตั้งแต่บริษัทเข้าไปบริหารกิจการ เรียกว่ามีแต่เป็นอย่างนี้แล้ว การตัดสินใจถอนทัพธุรกิจออกจากประเทศไทย ถือเป็นการ “ห้ามเลือด” ไม่ให้ไหลหนักไปกว่านี้ เพราะอาจฉุดภาพรวม “มัด แอนด์ ฮาวด์” ในฐานะเป็นบริษัทด้วย ซึ่งปี 2565 บริษัทำรายได้จากการขายรวม 3,168 ล้านบาท เติบโต 36.8% และกำไรสุทธิ 4 ล้านบาท ฟื้นตัวโต 103.
อย่างไรก็ตาม การโบกมือลาของ "บาสกิ้น ร็อบบิ้นส์" ยังทำให้แบรนด์ดังกล่าว หายไปจาก "พอร์ต" ของมัด แอนด์ ฮาวด์เรียบร้อยแล้ว