'โรคเกาต์เทียม-โรคเกาต์' เกิดจากสาเหตุใด-มีอาการอย่างไร-ใครคือกลุ่มเสี่ยง?

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

'โรคเกาต์เทียม-โรคเกาต์' เกิดจากสาเหตุใด-มีอาการอย่างไร-ใครคือกลุ่มเสี่ยง?
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 tnnthailand
  • ⏱ Reading Time:
  • 56 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 26%
  • Publisher: 59%

'โรคเกาต์เทียม-โรคเกาต์' เกิดจากสาเหตุใด-มีอาการอย่างไร-ใครคือกลุ่มเสี่ยง? โรคเกาต์เทียม โรคเกาต์ เกาต์ TNN TNNThailand TNNช่อง16 TNNONLINE

ข้อมูลจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย ได้ระบุไว้ว่า โรคเกาต์ และโรคเกาต์เทียม เป็นชนิดของโรคข้ออักเสบ ซึ่งเกิดมีสาเหตุจากผลึกเกลือ ที่ก่อให้เกิดอาการปวด บวม ร้อนแดง ที่บริเวณข้อของร่างกาย

ทั้งอาจทำให้เกิดก้อนโทฟัส บริเวณข้อ เนื้อเยื่อผิวหนัง และท่อไตซึ่งอาจนําไปสู่ภาวะไตวายเฉียบพลัน ได้ และการสะสมของผลึก MSU นี้ จัดเป็นสิ่งระคายเคืองต่อร่างกายที่จะกระตุ้นกระบวนการอักเสบ ทําให้เกิดภาวะข้ออักเสบเฉียบพลัน เกิดจากการสะสมผลึกแคลเซียมไพโรฟอสเฟตดีไฮเดรท"calcium pyrophosphate dehydrate " โดยมักจะเกิดพยาธิสภาพขึ้นในข้อบริเวณใหญ่ๆ ของร่างกายและมักจะสะสมบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ ข้อเท้านั้น ต่างจากโรคเกาต์ที่จะเกิดการตกผลึกเกลือ MSU ในบริเวณข้อและอวัยวะต่างๆ ได้หลายระบบ...

อย่างไรก็ตาม หากไม่สามารถเจาะน้ำไขข้อตรวจหาผลึกเกลือได้ สามารถพิจารณาความแตกต่างของโรคทั้งสองชนิดง่ายๆจากอาการปวด โดยผู้ป่วยโรคเกาต์มักมีอาการปวดเจ็บข้อแบบเฉียบพลันและเกิดขึ้นทันทีทันใดและหายภายใน 1-2 สัปดาห์ ขณะที่ผู้ป่วยโรคเกาต์เทียม จะการเกิดข้ออักเสบแบบเริ่มปวดอย่างช้าๆ และอาจใช้เวลาหลาย วัน ก่อนที่จะมีเกิดอาการปวดเต็มที่ และปวดนานราว 5-12 วันในการรักษาโรคเกาต์ซึ่งมีสาเหตุจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูงนั้นการรักษาจะใช้ยาที่มีฤทธิ์ลดระดับกรดยูริกในเลือด เช่น ยาอัลโลพูรินอล...

ขณะที่ในผู้ป่วยโรคเกาต์เทียม ซึ่งมีสาเหตุจากการสะสมผลึกเกลือ CPPD นั้นในปัจจุบันยังไม่มียาที่มีฤทธิ์ลดการสะสมผลึกเกลือ CPPD

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

tnnthailand /  🏆 29. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

โรคเกาต์เทียม ยังไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดแต่ควบคุมได้โรคเกาต์เทียม ยังไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดแต่ควบคุมได้รู้จักกับ 'โรคเกาต์เทียม' ยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด แนะกลุ่มเสี่ยงเช็คลักษณะอาการหลังพล.อ.ประยุทธ์ นายกรัฐมนตรี นิ้วล็อค กำมือไม่ได้ เข้าข่ายคล้ายโรคดังกล่าว โรคเกาต์เทียม ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »

'โรคเกาต์​เทียม' ภัยเงียบ 'สูงวัย' ปวดข้อ​ 'เฉียบพลัน​-เรื้อรัง'​'โรคเกาต์​เทียม' ภัยเงียบ 'สูงวัย' ปวดข้อ​ 'เฉียบพลัน​-เรื้อรัง'​'สูงวัย​' 60​ ปีขึ้น​ เสี่ยง​ 'โรคเกาต์เทียม'​ ภัยเงียบ 'โรคข้ออักเสบ' เกิดจากร่างกายสะสมผนึกเกลือซีพีพีดี แนะวิธีสังเกตอาการ มีทั้ง​ปวดข้อ​ 'เฉียบพลัน​-เรื้อรัง​'
อ่านเพิ่มเติม »

ทำความรู้จัก 'เกาต์เทียม VS เกาต์แท้' ที่จริงแล้วเป็นยังไงกันแน่? | เดลินิวส์ทำความรู้จัก 'เกาต์เทียม VS เกาต์แท้' ที่จริงแล้วเป็นยังไงกันแน่? | เดลินิวส์ทำความรู้จักกับโรคคุ้นหูอย่าง 'โรคเกาต์' แต่อันที่จริงแล้วเคยรู้ไหมว่ามีทั้ง เกาต์เทียมVSเกาต์แท้ ที่แล้วแล้วแตกต่างกันอย่างไรกันแน่? เกาต์ เกาต์เทียม ประยุทธ์ เดลินิวส์
อ่านเพิ่มเติม »

แพทย์เผย 'บิ๊กตู่' แข็งแรงดี แค่ 'มืออักเสบ' ไม่ต้องงดภารกิจสำคัญ กลับบ้านได้เร็วๆ นี้แพทย์เผย 'บิ๊กตู่' แข็งแรงดี แค่ 'มืออักเสบ' ไม่ต้องงดภารกิจสำคัญ กลับบ้านได้เร็วๆ นี้พล.ต.ธำรงโรจน์ เต็มอุดม ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า พร้อมคณะแพทย์ แถลงถึงอาการของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หลังเข้ารับการรักษาอาการมือขวาอักเสบตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม
อ่านเพิ่มเติม »

โรคเกาต์เทียม ยังไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดแต่ควบคุมได้โรคเกาต์เทียม ยังไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดแต่ควบคุมได้รู้จักกับ 'โรคเกาต์เทียม' ยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด แนะกลุ่มเสี่ยงเช็คลักษณะอาการหลังพล.อ.ประยุทธ์ นายกรัฐมนตรี นิ้วล็อค กำมือไม่ได้ เข้าข่ายคล้ายโรคดังกล่าว โรคเกาต์เทียม ฐานเศรษฐกิจ
อ่านเพิ่มเติม »

กำลังใจพรึ่บ! นายกฯ ขอบคุณทุกคนที่ห่วงใย สุขภาพใจยังดี งดลงพื้นที่ 5-7 วันกำลังใจพรึ่บ! นายกฯ ขอบคุณทุกคนที่ห่วงใย สุขภาพใจยังดี งดลงพื้นที่ 5-7 วันนายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฎิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ตนได้เข้าเยี่ยม พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ที่โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-03 20:22:43