'แผลไฟไหม้-น้ำร้อนลวก' ดูแลเบื้องต้นอย่างไรไม่ให้ติดเชื้อทางผิวหนัง ไฟไหม้ แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก TNN TNNThailand TNNช่อง16 TNNONLINE
โดยสถาบันโรคผิวหนัง แนะนำการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องและเหมาะสมสำหรับบาดแผลไฟไหม้ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้บาดแผลไฟไหม้หายดีขึ้นได้และลดโอกาสในการติดเชื้อทางผิวหนัง อย่างไรก็ตามผู้ที่ได้รับบาดแผลจากไฟไหม้ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาโดยเร็วที่สุด
1) แผลลึกระดับที่ 1 การบาดเจ็บอยู่เฉพาะที่ชั้นหนังกำพร้า เป็นชั้นผิวหนังส่วนตื้น แผลอาจมีลักษณะคล้ายผิวหนังไหม้จากการโดนแสงแดดจัด อาการที่พบ เจ็บแสบ แดง และแห้ง ไม่มีลักษณะของตุ่มน้ำให้เห็น หายได้เองภายใน 7 - 14 วัน 3) แผลลึกระดับที่ 3 ผิวหนังทุกชั้นถูกทำลายด้วยความร้อน แผลมีลักษณะแห้งแข็ง ไม่ยืดหยุ่น แผลชนิดนี้มักไม่หายเอง ต้องได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง มีโอกาสเกิดการหดรั้งหรือแผลเป็นนูนตามมาได้ค่อนข้างมาก แพทย์หญิงมิ่งขวัญ วิชัยดิษฐ ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับบาดแผลไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก คือ
4. ไม่ควรทาหรือใช้สารอื่น ๆ ทาลงบนบาดแผล เช่น ยาสีฟัน ไข่ขาว น้ำปลา เนื่องจากอาจเพิ่มโอกาสในการติดเชื้อที่บาดแผลได้
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
รักษาแผลจากไฟไหม้ แผลพุพอง น้ำร้อนลวก อย่างไรให้ถูกวิธีไม่ติดเชื้อการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับบาดแผลจากไฟไหม้ แผลพุพอง น้ำร้อนลวก บริเวณผิวหนัง เลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงเพิ่มโอกาสติดเชื้อ เช่นการใช้ยาสีฟันทา
อ่านเพิ่มเติม »
แผลไฟไหม้ มีวิธีดูแลยังไงไม่ให้ติดเชื้อ - แพทย์ชี้ดูแลถูกต้องช่วยลดอาการรุนแรงได้นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า การเกิดบาดแผลจากไฟไหม้ แผลพุพอง น้ำร้อนลวก บริเวณผิวหนัง ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย โดยทั่วไปผิวหนังจะมีหน้าที่สำคัญในการปกป้องร่างกายจากเชื้อโรค สารเคมี…
อ่านเพิ่มเติม »