รมว.
อุตสาหกรรม ลงพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อมอบนโยบายและรับฟังข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่ 7 จังหวัด ณ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม พร้อมรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานภาคเอกชน และมอบนโยบาย “ปฏิรูปอุตสาหกรรม” ส่งเสริมเศรษฐกิจท้องถิ่น เน้นพัฒนาธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและความยั่งยืน ชี้โอกาสการลงทุนจากความได้เปรียบด้านภูมิรัฐศาสตร์ พร้อมรับฟังความคิดเห็นจากภาคเอกชนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาผังเมืองและมาตรฐานอุตสาหกรรม...
เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2567 นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ อุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ภายหลังการลงพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2567 เพื่อมอบนโยบายและรับฟังข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ตามนโยบาย “การปฏิรูปอุตสาหกรรม สู่เศรษฐกิจยุคใหม่”เร่งการสร้างความเท่าเทียมในการแข่งขันของ SME ไทย” โดย “Save อุตสาหกรรมไทย” ซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ “การสร้างอุตสาหกรรมเศรษฐกิจใหม่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”...
นายเอกนัฏ กล่าวเพิ่มเติมว่า จากการประชุมดังกล่าวตัวแทนภาคเอกชนได้นำเสนอประเด็นปัญหาของจังหวัดสุราษฎร์ธานี อาทิ ปัญหาผังเมือง การขับเคลื่อน Climate Change แผนจัดการแรงงานที่เข้ามาทำงานและอยู่อาศัยในพื้นที่ รวมถึงกลยุทธ์ที่ชัดเจนในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่มีจุดแข็งจากการเกษตรและการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ พร้อมมุ่งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับการรักษาสิ่งแวดล้อมก็จะเป็นส่วนสำคัญในการสร้างเศรษฐกิจของพื้นที่...
“หนึ่งในนโยบายสำคัญที่กระทรวงอุตสาหกรรมให้ความสำคัญคือ การปฏิรูปและพัฒนาธุรกิจ SMEs ให้มีความยั่งยืน พร้อมมอบหมายให้กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการ การส่งเสริมการให้ SMEs ของไทยมีความสามารถในการแข่งขันมากขึ้นในระดับสากล ซึ่งเป็นสิ่งที่กระทรวงฯ มุ่งมั่นผลักดันให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ การใช้โมเดล BCG ในภาคอุตสาหกรรมเกษตรเป็นหนึ่งในแนวทางหลักในการยกระดับศักยภาพการผลิตของไทยให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล...
ทั้งนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมยังได้เสนอจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนธุรกิจ SMEs ในการปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจใหม่ โดยเฉพาะในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนผ่าน โมเดลเศรษฐกิจ BCG ซึ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การหมุนเวียนวัตถุดิบ และการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โมเดลนี้ประสบความสำเร็จอย่างมากในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล โดยมีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและแปรรูป ซึ่งทำให้อุตสาหกรรมนี้สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตรและขยายตลาดได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้...
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
“ดีพร้อม” ยกระดับ 'SMEs' สู่ BCG ดันไทยขึ้นแท่นฮับซื้อขายคาร์บอนเครดิต“ดีพร้อม” ยกระดับ 'SMEs' สู่ BCG ดันไทยขึ้นแท่นฮับซื้อขายคาร์บอนเครดิต เดินหน้าส่งเสริมการใช้นวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
อ่านเพิ่มเติม »
'เอกนัฏ' ต่อยอดหัตถกรรม-อุตสาหกรรมท้องถิ่นใต้ ยกระดับขึ้นแท่น 'Soft Power''เอกนัฏ' ต่อยอดหัตถกรรม-อุตสาหกรรมท้องถิ่นใต้ ยกระดับขึ้นแท่น 'Soft Power' สั่ง ธพว. ร่วมมือกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนแก่ผู้ประกอบการ SMEs
อ่านเพิ่มเติม »
'เอกนัฏ' สั่ง กนอ.เฝ้าระวังน้ำรอบการนิคมฯเต็มที่ สร้างความมั่นใจนักลงทุนและชุมชนรอบข้าง'เอกนัฏ' สั่ง กนอ.เฝ้าระวังน้ำรอบการนิคมฯเต็มที่ สร้างความมั่นใจนักลงทุนและชุมชนรอบข้าง เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2567 นายเอกนัฏ พร้อมพันธ์ รมว.อุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ได้สั่งการให้การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.
อ่านเพิ่มเติม »
'เอกนัฏ' คุมเข้มสินค้าออนไลน์ไม่ได้มาตรฐาน ป้องต่างชาติแข่งราคา SMEs ไทย“เอกนัฏ” สั่งการ “สมอ.” คุมเข้มแพลตฟอร์มออนไลน์ ผสานกำลัง “ETDA” พบขายสินค้าไม่ได้มาตรฐานยึด “ใบจดแจ้ง” ตามนโยบายป้องกันสินค้านำเข้าจากต่างประเทศไม่ได้มาตรฐานเข้ามาแข่งขันด้านราคากับ SMEs ไทย
อ่านเพิ่มเติม »
'เอกนัฏ' สั่ง “สมอ.” คุมเข้มแพลตฟอร์มออนไลน์ ผสานกำลังกับ “ETDA” พบขายสินค้าไม่ได้มาตรฐานยึดใบจดแจ้ง“เอกนัฏ” สั่งการ “สมอ.” คุมเข้มแพลตฟอร์มออนไลน์ ผสานกำลังกับ “ETDA” พบขายสินค้าไม่ได้มาตรฐานยึด “ใบจดแจ้ง” เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2567 นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รมว.
อ่านเพิ่มเติม »
“ดีพร้อม” ผุดศูนย์พัฒนาธุรกิจออนไลน์-ออฟไลน์ รับนโยบาย “ปฏิรูปอุตสาหกรรม”“ดีพร้อม” ผุดศูนย์พัฒนาธุรกิจออนไลน์-ออฟไลน์ รับนโยบาย “ปฏิรูปอุตสาหกรรม” เดินหน้าเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับสากล รวมถึงสร้างมูลค่าเพิ่มและพัฒนากระบวนการผลิต บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อ่านเพิ่มเติม »