'สภาพัฒน์' รายงานภาวะสังคม หนี้ครัวเรือน-หนี้เสียพุ่ง เด็กจบใหม่ตกงานอื้อ แรงงาน เด็กจบใหม่ สังคมไทย โรคซึมเศร้า ป่วยซึมเศร้า สภาพัฒน์ คมชัดลึกออนไลน์
ทั้งนี้พบว่า ไตรมาส 3 มียอดคงค้างหนี้ NPL มูลค่า 1.09 ล้านล้านบาท แต่หนี้เสียดังกล่าวอยู่ระหว่างการประบโครงสร้างหนี้กว่า 7.8 แสนล้านบาท นอกจากนี้ยังพบว่าลูกหนี้เสียส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด19 ยังมีปริมาณมากแม้ว่าสถานการณ์จะเริ่มดีขึ้นก็ตามขยายตัวในทุกประเภทสินเชื่อ โดยสินเชื่อที่มีการขยายตัวในอัตราสูง ได้แก่ สินเชื่อบัตรเครดิตและสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับที่ขยายตัวถึง 11.8 %และ 21.4 %ขณะที่สินเชื่อที่ขยายตัวในอัตราต่ำ ได้แก่ สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ขยายตัว 4.
4 %ทั้งนี้ การขยายตัวของสินเชื่อบัตรเครดิตเป็นผลมาจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ประกอบกับพฤติกรรมการใช้จ่ายของประชาชนที่ลดการใช้เงินสดมากขึ้นขณะที่การขยายตัวของสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับ ซึ่งเป็นสินเชื่อที่เข้าถึงได้ง่าย มีเงื่อนไขการสมัครไม่มากวงพัฒนาข้อมูลและตัวชี้วัดสังคมสำหรับภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคเฝ้าระวังเพิ่มขึ้น 308.4%เป็นการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ ภาพรวมปี 2565 เพิ่มขึ้น 134.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สภาพัฒน์ เผย Q4/65 ท่องเที่ยวฟื้นหนุนจ้างงานเพิ่ม-หนี้ครัวเรือน Q3 ยังสูง : อินโฟเควสท์นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือสภาพัฒน์ เปิดเผยว่า สถานการณ์ด้านแรงงานไตรมาส 4/65 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น จากการขยายตัวของการจ้างงานนอกภาคเกษตรกรรม ขณะที่การจ้างงานภาคเกษตรกรรมยังคงหดตัวต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาส 2 สำหรับภาพรวมปี 2565 อัตราการมีงานทำและชั่วโมงการทำงานปรับตัวดีขึ้นมาอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับช่วงก่อนโควิด-19 การจ้างงานมีจำนวนทั้งสิ้น 39.6 ล้านคน ขยายตัว 1.5% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการจ้างงานในสาขานอกภาคเกษตรกรรมที่เพิ่มขึ้น 3.4% โดยสาขาโรงแรมและภัตตาคาร และสาขาการค้าส่งและค้าปลีก ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว ขณะที่สาขาการขนส่ง/เก็บสินค้า และสาขาการผลิตมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้ประกอบการยังมีความเชื่อมั่นต่อแนวโน้มเศรษฐกิจในอนาคต ส่วนภาคเกษตรกรรม การจ้างงานหดตัว 3.4% จากปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้และการย้ายสาขาของแรงงาน ชั่วโมงการทำงานปรับตัวดีขึ้น โดยชั่วโมงการทำงานภาพรวมและภาคเอกชนเฉลี่ยอยู่ที่ 42.6 และ 46.5 ชั่วโมง/สัปดาห์ ผู้ทำงานล่วงเวลาเพิ่มขึ้นโดยมีจำนวนกว่า 6.3 ล้านคน *การจ้างงานเพิ่มขึ้นหลังท่องเที่ยวฟื้นตัว อัตราว่างงานเหลือ 1.15% ขณะที่ผู้ว่างงานแฝง และผู้เสมือนว่างงาน ลดลงกว่า 28.0% และ 19.0% ตามลำดับ การว่างงานปรับตัวดีขึ้น โดยผู้ว่างงานมีจำนวน 4.6 […]
อ่านเพิ่มเติม »
โควิดจบ หนี้ไม่จบ! สิ้นปี 65 ยอดสะสมพุ่ง 4.7 ล้านบัญชี 60% เป็นสินเชื่อส่วนบุคคลโควิดจบ 'หนี้' ไม่จบ! สิ้นปี 65 ยอดสะสมพุ่ง 4.7 ล้านบัญชี 60% เป็นสินเชื่อส่วนบุคคล หนี้บัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล
อ่านเพิ่มเติม »
TOPICSTODAY: จับตาส่งออกก.พ./รายงานภาวะสังคม Q4/65/นายกฯ ตรวจราชการอุดรฯ-หนองบัวลำภู : อินโฟเควสท์ติดตามการรายงานภาวะการค้าระหว่างประเทศของไทย (การส่งออก-นำเข้า-ดุลการค้า) เดือนก.พ.66 โดยนายสินิตย์ เลิศไกร รมช.พาณิชย์ และสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งต้องจับตาว่าจากปัญหาเศรษฐกิจโลก และเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าชะลอตัว จะส่งผลกระทบให้การส่งออกไทยในเดือนก.พ.นี้ หดตัวต่อเนื่องจากเดือนม.ค.หรือไม่ – สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) แถลง “รายงานภาวะสังคมไทยไตรมาส 4/65 และภาพรวมปี 2565” พร้อมรายงานพิเศษที่น่าสนใจเรื่อง “ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา : แหล่งรายได้ และเครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำ” – บมจ. เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น (SC) แถลงแผนโรดแมพ (Business Direction 2023) – บมจ. เฮงลิสซิ่ง แอนด์ แคปปิตอล (HENG) แถลงข่าวในประเด็น HENG เปิดกลยุทธ์ปี 2566 รุกให้บริการสินเชื่อรับโอกาสเศรษฐกิจฟื้นตัว – บมจ. กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล (GPI) แถลงข่าวการจัดงาน “บางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์” […]
อ่านเพิ่มเติม »
'สศช.'ห่วงคนอายุ 60 ปีขึ้นไป มี'หนี้เสีย'บัญชีละ 7.7 หมื่น-ไตรมาส 4/65 ว่างงาน 4.6 แสนคน‘สภาพัฒน์’ เปิดฐานข้อมูล ‘เครดิตบูโร’ พบหนี้เสียแตะ 1.09 ล้านล้าน อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีหนี้เสีย ‘สินเชื่อส่วนบุคคล’ บัญชีละ 7.7 หมื่น ส่วนอายุต่ำกว่า 30 ปี หนี้เสีย ‘บัตรเครดิต’ โต 2.5% เผยไตรมาส 4/65 ผู้ว่างงานลดเหลือ 4.6 แสนคน
อ่านเพิ่มเติม »
สภาพัฒน์ แนะปฏิรูปโครงสร้างภาษี ลดความเหลื่อมล้ำ-เพิ่มรายได้รัฐ : อินโฟเควสท์นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือสภาพัฒน์ กล่าวว่า ไทยอยู่ระหว่างการปรับโครงสร้างภาษี เนื่องจากปัจจุบันการจัดเก็บภาษีอยู่ที่ 13% ต่อ GDP ซึ่งถ้ามีสวัสดิการต่างๆ เพิ่มขึ้น ก็ต้องหาทางเก็บภาษีเพิ่มเพื่อให้มีรายได้มากขึ้น แต่ทั้งนี้ยังไม่ทราบรายละเอียดว่ากระทรวงการคลังจะปรับโครงสร้างอย่างไร ปัญหาของไทยคือภาษีเงินได้จากบุคคลธรรมดาเก็บได้น้อยกว่าที่ควรจะเป็น เนื่องจากมีแรงงานนอกระบบจำนวนมาก จึงต้องมีการแก้ปัญหาให้คนเข้าระบบฐานภาษี ขณะเดียวกันโครงสร้างภาษีก็ต้องไม่เหลื่อมล้ำ โดยเฉพาะคนรายได้ปานกลางที่มีค่าลดหย่อนภาษีน้อย นอกจากนี้ อาจมีการเก็บภาษีอื่นๆ เพื่อรองรับภาระของรัฐ ในแง่ของสวัสดิการที่จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเร็วๆ นี้ “ช่วงแรกที่มีโครงการคนละครึ่ง ร้านค้ารายเล็กเข้าร่วมโครงการจำนวนมาก แต่พอมีคนจุดประเด็นเรื่องจะเสียภาษีหากมีรายได้เยอะ ร้านค้าก็ยกเลิกเข้าร่วมโครงการ แสดงให้เห็นว่าคนไทยมีความเชื่อผิดๆ ว่าเรื่องภาษีเป็นภูมิแพ้ ซึ่งต้องมีการให้ความรู้ที่ถูกต้องว่า การเสียภาษีคือ ‘หน้าที่’ ที่คนไทยที่มีรายได้ถึงเกณฑ์ควรทำ และถ้ากลัวเสียภาษีแล้วนำไปใช้แบบไม่โปร่งใส ประชาชนสามารถช่วยกันมอนิเตอร์ให้การใช้จ่ายงบประมาณคุ้มค่ากับภาษีที่จ่ายไป ทุกวันนี้มีพูดแต่เรื่องว่ารัฐต้องช่วยอะไรบ้าง แต่ไม่ได้พูดเรื่องรายได้ที่จะเข้ารัฐ เราต้องมองทั้งสองด้าน” นายดนุชา กล่าว สำหรับการเก็บภาษี Capital Gain ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างการศึกษาว่าจะเก็บในรูปแบบใด และอัตราเท่าไร อย่างไรก็ดี หากจะนำมาปฏิบัติต้องใช้เวลาผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน กว่าจะมีการออกมาตรการภาษี โดยเฉพาะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับตลาดทุน ต้องศึกษา และเปิดรับฟังความคิดเห็นจากหลายฝ่าย โดยที่ผ่านมากระทรวงการคลังของไทยมีการเก็บตาม […]
อ่านเพิ่มเติม »
สภาพัฒน์ เผย Q4/65 ท่องเที่ยวฟื้นหนุนจ้างงานเพิ่ม-หนี้ครัวเรือน Q3 ยังสูง : อินโฟเควสท์นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือสภาพัฒน์ เปิดเผยว่า สถานการณ์ด้านแรงงานไตรมาส 4/65 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น จากการขยายตัวของการจ้างงานนอกภาคเกษตรกรรม ขณะที่การจ้างงานภาคเกษตรกรรมยังคงหดตัวต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาส 2 สำหรับภาพรวมปี 2565 อัตราการมีงานทำและชั่วโมงการทำงานปรับตัวดีขึ้นมาอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับช่วงก่อนโควิด-19 การจ้างงานมีจำนวนทั้งสิ้น 39.6 ล้านคน ขยายตัว 1.5% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการจ้างงานในสาขานอกภาคเกษตรกรรมที่เพิ่มขึ้น 3.4% โดยสาขาโรงแรมและภัตตาคาร และสาขาการค้าส่งและค้าปลีก ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว ขณะที่สาขาการขนส่ง/เก็บสินค้า และสาขาการผลิตมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้ประกอบการยังมีความเชื่อมั่นต่อแนวโน้มเศรษฐกิจในอนาคต ส่วนภาคเกษตรกรรม การจ้างงานหดตัว 3.4% จากปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้และการย้ายสาขาของแรงงาน ชั่วโมงการทำงานปรับตัวดีขึ้น โดยชั่วโมงการทำงานภาพรวมและภาคเอกชนเฉลี่ยอยู่ที่ 42.6 และ 46.5 ชั่วโมง/สัปดาห์ ผู้ทำงานล่วงเวลาเพิ่มขึ้นโดยมีจำนวนกว่า 6.3 ล้านคน *การจ้างงานเพิ่มขึ้นหลังท่องเที่ยวฟื้นตัว อัตราว่างงานเหลือ 1.15% ขณะที่ผู้ว่างงานแฝง และผู้เสมือนว่างงาน ลดลงกว่า 28.0% และ 19.0% ตามลำดับ การว่างงานปรับตัวดีขึ้น โดยผู้ว่างงานมีจำนวน 4.6 […]
อ่านเพิ่มเติม »