'สนค.' ชี้เงินเฟ้อต่ำหนุนไทยติดโผประเทศน่าอยู่ของต่างชาติวัยเกษียณ

ประเทศไทย ข่าว ข่าว

'สนค.' ชี้เงินเฟ้อต่ำหนุนไทยติดโผประเทศน่าอยู่ของต่างชาติวัยเกษียณ
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว
  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 25 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 13%
  • Publisher: 63%

สนค.ชี้เงินเฟ้อต่ำหนุนไทยติดโผประเทศน่าอยู่ของต่างชาติวัยเกษียณ นายพูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.

นายพูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เปิดเผยถึงแนวโน้มสังคมสูงวัยที่กำลังเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก ทำให้ความต้องการใช้ชีวิตหลังเกษียณในต่างประเทศได้รับความสนใจมากขึ้น โดยประเทศไทยเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ได้รับการจัดอันดับประเทศน่าอยู่สำหรับชาวต่างชาติวัยเกษียณ เนื่องจากค่าครองชีพไม่สูง และคาดว่าเงินเฟ้อในปีนี้จะชะลอตัวอย่างชัดเจนเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยตัวเลขอัตราเงินเฟ้อล่าสุดเดือนกันยายน 2566 เทียบกับเดือนกันยายน 2565 สูงขึ้นเพียงร้อยละ 0.

-ดัชนีเกษียณอายุโลก ที่จัดทำและเผยแพร่ทุกปีโดย International Living ซึ่งเป็นสื่อสัญชาติสหรัฐอเมริกา พบว่า ประเทศไทย เป็นประเทศเดียวในทวีปเอเชียที่ได้รับการจัดอันดับ โดยอยู่อันดับ 9 ร่วมกับประเทศอิตาลี จาก 16 ประเทศ สำหรับประเทศที่เหมาะสำหรับการใช้ชีวิตวัยเกษียณมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ โปรตุเกส เม็กซิโก ปานามา เอกวาดอร์ และคอสตาริกา ทั้งนี้ ผลการจัดอันดับคะแนนด้านค่าครองชีพตั้งแต่ปี 2564-2566 ของไทย ปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรืออาจกล่าวได้ว่า ค่าครองชีพของไทยลดน้อยลง...

เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

siamrath_online /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

สนค. เผยปัจจัยเสี่ยงที่ต้องติดตามจากภัยแล้งสนค. เผยปัจจัยเสี่ยงที่ต้องติดตามจากภัยแล้งนายพูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เปิดเผยถึงสถานการณ์ภัยแล้ง ที่อาจทวีความรุนแรงขึ้นตั้งแต่ช่วงปลายปี 2566
อ่านเพิ่มเติม »

'สนค.' หนุนรัฐกำหนดนโยบายลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก แนะเอกชนเร่งปรับตัว'สนค.' หนุนรัฐกำหนดนโยบายลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก แนะเอกชนเร่งปรับตัวสนค.ศึกษาการปรับตัวของภาคธุรกิจเพื่อลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก พบว่าผู้ประกอบการเริ่มตระหนักถึงความสำคัญของการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่ SME ยังขาดความรู้ และมีข้อจำกัดด้านเงินทุน ขณะที่ผู้บริโภคส่วนใหญ่สนใจซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เหตุต้องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ช่วยสนับสนุนผู้ประกอบการ และอยากทดลองสินค้าใหม่ แนะให้ภาครัฐกำหนดนโยบายสนับสนุน ช่วยผู้ประกอบการปรับตัว และส่งเสริมด้านการตลาด ส่วนภาคธุรกิจต้องปรับการผลิตให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นายพูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า สนค.ได้จัดทำโครงการศึกษาแนวทางการปรับตัวของภาคธ
อ่านเพิ่มเติม »

ถอดบทเรียนการเกิดเอลนีโญในอดีต เพื่อเตรียมรับมือที่จะเกิดขึ้นถอดบทเรียนการเกิดเอลนีโญในอดีต เพื่อเตรียมรับมือที่จะเกิดขึ้นสนค.ชี้เอลนีโญสร้างความกังวลว่าจะส่งผลเสียหายต่อภาคเกษตรไทย และทำให้รายได้จากการส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรของไทยลดลง ถอดบทเรียนการเกิดเอลนีโญในอดีต และเตรียมรับมือกับเอลนีโญที่จะเกิดขึ้น
อ่านเพิ่มเติม »

พาณิชย์ ชี้ช่องผู้ประกอบการไทย ใช้ CBEC ขายสินค้าออนไลน์เจาะตลาดจีนพาณิชย์ ชี้ช่องผู้ประกอบการไทย ใช้ CBEC ขายสินค้าออนไลน์เจาะตลาดจีนสนค.เผยการค้าออนไลน์ข้ามพรมแดนในตลาดจีนมีการเติบโตต่อเนื่อง จากการที่คนจีนใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้น-พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนหลังโควิด ขณะที่รัฐบาลจีนมีนโยบายสนับสนุน ชี้เป็นโอกาสขยายตลาดส่งออกของไทย แนะสินค้าอัตลักษณ์ สินค้าอุปโภคบริโภค มีโอกาสสูง
อ่านเพิ่มเติม »

สนค. ชี้เป้าผปก.ไทยใช้ช่องทางCBEC ขายออนไลน์เจาะตลาดจีนสนค. ชี้เป้าผปก.ไทยใช้ช่องทางCBEC ขายออนไลน์เจาะตลาดจีนสนค. ชี้การค้าออนไลน์ข้ามพรมแดน ในตลาดจีนโตอย่างต่อเนื่องคนจีนใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้น พฤติกรรมเปลี่ยนและรัฐบาลจีนมีนโยบายหนุน เผยเป็นโอกาสในการขยายตลาดส่งออกของไทย ชี้เป้าสินค้าอัตลักษณ์ สินค้าอุปโภคบริโภค มีโอกาสสูง
อ่านเพิ่มเติม »

สนค.แนะผู้ส่งออกไทยขายสินค้า 'ออนไลน์' ตีตลาดจีนสนค.แนะผู้ส่งออกไทยขายสินค้า 'ออนไลน์' ตีตลาดจีนสนค. เผยการค้าออนไลน์ข้ามพรมแดนในตลาดจีนโตก้าวกระโดด หลังโควิดคนจีนใช้อินเทอร์ เน็ตเพิ่มขึ้น ขณะที่รัฐบาลจีนมีนโยบายสนับสนุน แนะไทยขยายตลาดส่งออก ชี้เป้าสินค้าอัตลักษณ์-สินค้าอุปโภคบริโภคมีโอกาสสูง
อ่านเพิ่มเติม »



Render Time: 2025-04-23 04:24:47