'สทนช.'รุกแก้ปัญหาน้ำลุ่มน้ำชีตอนกลางลดพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม ตามมาตรการรับมือฤดูฝนปี 2566 และ 3 มาตรการรับมือฤดูฝน พร้อมรับสถานการณ์เอลนีโญ ระบุมีพื้นที่รวม 12.85 ล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัด
"สทนช."รุกแก้ปัญหาน้ำลุ่มน้ำชีตอนกลางลดพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม ตามมาตรการรับมือฤดูฝนปี 2566 และ 3 มาตรการรับมือฤดูฝน พร้อมรับสถานการณ์เอลนีโญ ระบุมีพื้นที่รวม 12.85 ล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัด
นอกจากนี้ยังพบปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค เนื่องจากระบบประปาผิวดิน และบาดาลของชุมชน มีปัญหาขาดแคลนน้ำดิบ ระบบผลิตประปาชำรุดเสียหายและการบริหารจัดการไม่มีประสิทธิภาพส่วนปัญหาด้านอุทกภัยเกิดจากน้ำท่วมล้นตลิ่งและน้ำท่วมขัง อยู่บริเวณพื้นที่ลุ่มริมน้ำชีและลำน้ำสาขาเนื่องจากมีปริมาณน้ำมากกว่าความจุลำน้ำและมีสิ่งกีดขวางการระบายน้ำ หรือได้รับผลกระทบจากท้ายน้ำที่มีระดับสูงจนไม่สามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่ได้ทัน มีพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย จำนวน 0.
ขณะที่ปริมาณฝนสะสมทั้งประเทศตั้งแต่ 1 ม.ค. 66 ถึงปัจจุบันน้อยกว่าค่าปกติ 15% และในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือน้อยกว่าค่าปกติ 8% สำหรับสถานการณ์น้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ เขื่อนลำปาวมีความจุเก็บกัก 1,980 ล้าน ลบ.ม. มีปริมาณน้ำ 2,021 ล้าน ลบ.ม. หรือประมาณ 102% และยังคงมีปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ ปริมาณมาก ประกอบกับประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา ว่าในช่วงวันที่ 26 – 28 ก.ย.
ส่วนในระยะยาวขอให้พิจารณาประกาศพื้นที่ตำบลโพนงามและใกล้เคียงเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำรับน้ำนอง พิจารณายกระดับถนนสาย บ.โพนงาม ม.12 ถึง บ.ดอนจำปา ม.7 ระยะทาง 8 กม.
ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว
Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้
สทนช.รุกบริหารจัดการน้ำ ลุ่มน้ำมูลตอนกลาง รับภาวะเอลนีโญเร่งสร้างแกมลิงในทุ่งกุลา ช่วยพื้นที่ 3 จังหวัด แก้ปัญหาให้ประชาชนอย่างยั่งยืน ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ หรือ สทนช.
อ่านเพิ่มเติม »
สทนช.รุกบริหารจัดการน้ำ ลุ่มน้ำมูลตอนกลาง รับภาวะเอลนีโญเร่งสร้างแกมลิงในทุ่งกุลา ช่วยพื้นที่ 3 จังหวัด แก้ปัญหาให้ประชาชนอย่างยั่งยืน ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ หรือ สทนช.
อ่านเพิ่มเติม »
สถานการณ์น้ำการบริหารจัดการน้ำแม้จะเป็นวัฏจักรระหว่าง น้ำแล้ง กับน้ำท่วม แต่ยังมีปัจจัยที่ต้องเตรีบมรับมือกับภาวะโลกร้อน ปรากฎการณ์ เอลนีโญ และลานีญา แม้เทรนทั่วโลกจะเริ่มกลับมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้นในหลากหลายมิติ แต่ก็ต้องยอมรับว่า การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็น “เกราะ” ป้องกันภัยพิบัติต่างๆนั้น ยังคงไม่หยุดยั้ง ปี 2566 สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) รายงานสถานการณ์น้ำที่ค่อนข้างจะแตกต่างจากปี 2565 ประเทศไทยอยู่ภายใต้ปรากฏการณ์ลานีญา ฝนตกค่อนข้างมาก ทำให้ในฤดูแล้งปี 2565/66 มีปริมาณน้ำต้นทุนที่ใช้การได้ในแหล่งเก็บน้ำขนาดใหญ่ 38 แห่งทั่วประเทศ รวมกันมากถึง 35,853 ล้านลูกบ
อ่านเพิ่มเติม »
สทนช. ลุยจัดการน้ำลุ่มน้ำน่าน 9 อำเภอ จ.อุตรดิตถ์ เสี่ยงกระทบ “เอลนีโญ”สทนช.ลงพื้นที่ ติดตามบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำน่าน จ.อุตรดิตถ์ รับมือ “เอลนีโญ” หลังพบสัญญาณปริมาณฝนสะสมต่ำกว่าค่าปกติของประเทศ และของพื้นที่ภาคเหนือ ปริมาณน้ำในเขื่อนสิริกิติ์ และอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำรีน่าห่วง 4 ตำบลเสี่ยงขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร
อ่านเพิ่มเติม »
'สทนช.' คาดน้ำกักเก็บเหลือร้อยละ 55 ออก 9 มาตรการ รับมือเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ 'สทนช.' ระบุ ผลพวงปรากฏการณ์ 'เอลนีโญ ' ฝนตกน้อยตั้งแต่ต้นปี จนถึงปัจจุบันต่ำกว่าค่าปกติ 21% หากไม่มีพายุพาดผ่าน จะมีปริมาณน้ำใช้การ แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เหลือร้อยละ 55 ของปริมาณกักเก็บ รุกออกมาตรการรองรับมือฤดูแล้ง 2566/67
อ่านเพิ่มเติม »